ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๑ - บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 10
กล่าวว่าเกิดแต่อก ที่ไม่ได้ประกอบ เกิดในคอตามฐานเดิมของตน
[๒] กรณ์ที่ทำอักขระมี ๔ คือ ชิวหามชุฒิ ท่ามกลางลิ้น ๑
ชิวโหปคุก ถัดปลายลิ้นเข้ามา ๑ ชิวหลุด ปลายลิ้น ๑ สกฏฐาน
ฐานของตน ๑. ท่ามกลางลิ้น เป็นกรณ์ของขระที่เป็นตาลชะ, ถัด
ปลายลิ้นเข้ามา เป็นกรณ์ของอักขระที่เป็นพุทธชะ, ปลายลิ้น เป็น
กรณ์ของอักขระที่เป็นทันตชะ, ฐานของตนเป็นกรณ์ของอกขระที่เหลือ
จากน.
[๘]
เสียงอักขระ
มาตราที่จะว่าอักขระนั้น ดังนี้ สระสั้นมาตราเดียว,
สระยาว ๒ มาตรา, สระมีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง ๓ มาตรา,
พยัญชนะทั้งปวงกึ่งมาตรา, เหมือนหนึ่งว่าสระนั้นตัวหนึ่งถึงวินาที
(ครึ่ง ซกัน) ว่าสระยาวต้องวินาทีหนึ่ง, ว่าสระที่มีพยัญชนะสังโยค
อยู่เบื้องหลังวินาทีครึ่ง, ว่าพยัญชนะควบกัน เหมือน ตุ๊ย
ย
ตั้งแต่
ตล
ถึง 2 เท่าส่วนที่ ๔ ของวินาที ซึ่งกำหนดระยะเสียงวินาทีดังนี้ ก็เป็น
การไม่แน่ทีเดียว เป็นแต่ว่าไว้พอจะได้รู้จักระยะมาตราเท่านั้น
[8] สระ 4 ตัวนั้น, มีเสียงไม่ต่างกับภาษาของเรา เพราะ
ฉะนั้น ไม่ต้องแสดงโดยพิศดาร ย่อลงเป็น ๒ คงมีเสียงสั้นอย่างหนึ่ง ๑
มีเสียงยาวอย่าง ๑ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น [๓] นั้นแล้ว
0
[๑๐] แม้ถึงพยัญชนะก็มีเสียงไม่ต่างกันนัก ที่ต่างกัน คือ
ค ช ฑ ท พ ๕ ตัวนี้ เป็นแต่ให้ผู้ศึกษากำหนดพยัญชนะที่เป็นโฆสะ
และอโฆสะเป็นต้น อ่านให้ถูกต้องดีขึ้นกว่าแต่ก่อน ก็จะเป็นความ