ข้อความต้นฉบับในหน้า
รูปไว้เป็นปรกติอย่างเดิมเท่านั้น
อย่าง ๑
ประโยค - บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 21
อุ ว่า โก-อิม ก็คง เป็น โกอิม.
[๒๔] ทีฆ์ เป็น ๒ คือ ทีฆะสระหน้าอย่าง ๑ ทีฆะสระหลัง
ทีฆะสระนั้น ดังนี้ สระหน้า เมื่อสระหลังลบแล้ว
ทีฆะได้บ้าง อุ. ว่า สุ-อิธ เป็น ที่สูธ อิติ เป็น สาธุติ
เป็นต้น หรือพยัญชนะอยู่หลังทีฆะได้บ้าง อุ. ว่า มุนิ จเร เป็น มุนีจเร
ทีฆะสระเบื้องปลายก็อย่างเดียวกัน ผิดกันแต่ลบสระหน้า ทีฆะสระ
หลัง ดังนี้ สทฺธา-อิธ เป็น สุทธีธ, จ-อุภัย เป็น จูภ
[๒๕] รสส์ นั้น ดังนี้ ถ้าพยัญชนะก็ดี เอ แห่ง เอว ศัพท์
ก็ดี อยู่เบื้องหลัง รัสสะสระข้างหน้าให้มีเสียงสั้นได้บ้าง อุ ว่า
โภวาที-นาม เป็น โภวาทินาม, ยถา-เอว เป็น ยถริว
พยัญชนะสนธิ
[ ๒๖] ในพยัญชนะสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์ ๕ คือ โลโป ๑
อาเทโส ๑ อาคโม ๑ ปกติ ๑ สญฺโญโค ๑. ในโลปะที่ต้นนั้นดังนี้
เมื่อลบสระเบื้องปลายที่มีนิคคหิตอยู่หน้าแล้ว ถ้าพยัญชนะซ้อนเรียง
กัน ๒ ตัว ลบเสียตัวหนึ่ง อุ. ว่า เอวํ อสฺส เป็น เอส ได้ใน
คำว่า เอวิส เต อาสวา, ปุปผ-อสสา เป็น ปุปผสา
[๒๓] อาเทสพยัญชนะนั้น ดังนี้ ถ้าสระอยู่หลัง แปลง ติ
ที่ท่านทำเป็น ตุ้ย แล้วให้เป็น จุจ อุ. ว่า อิติ-เอว์ เป็น อิจเจว
ปติ-อุตตริตวา เป็น ปจฺจุตตริตวา เป็นต้น แปลง ธ เป็น ท
ได้บ้าง อุ ว่า เอก-อิธ-อห์ เป็น เอกมิทาห์ [เอก อยู่หน้า] แปลง