บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ หน้า 23
หน้าที่ 23 / 28

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงหลักการของบาลีไวยกรณ์ โดยเฉพาะเรื่องของอาคมและการซ้อนพยัญชนะ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสระและพยัญชนะ โดยยกตัวอย่างเช่นคำที่ซ้อนพยัญชนะและรักษาโครงสร้างเดิมไว้ เช่น สาธุ ที่ไม่แปลงรูป เป็นต้น นอกจากนี้ ยังอธิบายการทำงานของสัททนิติและวิธีการสร้างคำโดยใช้หลักการต่างๆ

หัวข้อประเด็น

- อาคมและพยัญชนะ
- การซ้อนพยัญชนะ
- สัททนิติ
- การรักษารูปแบบของคำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคด - บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ : 23 ว อาคม อุ-ทิกฺขติ เป็น วุฒิกฺขติ เป็น วุฒิกฺขติ, ม อาคม ครุ-เอสสติ เป็น ครุเมสฺสติ, ท อาคม อตฺต อตฺโถ เป็น อตฺตทตฺโถ, น อาคม อิโต-อายติ เป็น อิโตนายติ, ต อาคม ตสมา-อิห เป็น ตสฺมาติห ร อาคม สพฺภิ-เอว เป็น สพฺภิเรว, ฬ อาคม จ-อายตน เป็น ฉฬายตน์, ในสัททนิติ ว่า ลง ห อาคมก็ได้ อุทาหรณ์ ว่า สุ-อุชุ เป็น สุหุช, สุ-อุฏฐิติ เป็น สุหุฏฐิต [๒๔] ปกติพยัญชนะนั้นก็ไม่วิเศษอันใด เหมือนกันกับปกติ สระ เป็นแต่เมื่อลักษณะที่จะลบหรือแปลง ลงอาคมหรือซ้อนพยัญชนะ ลงได้ หาทำไม่ คงรูปไว้ตามปรกติเดิม เหมือนคำว่า สาธุ ก็ไม่ แปลงเป็น สาหุ คงรูป สาธุ ไว้เป็นต้นเท่านั้น → 8. [๒๐] สญฺโญโค เป็น ๒ คือ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเหมือนกัน อย่าง ๑ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปไม่เหมือนกันอย่าง ที่ต้นดังนี้ อิธ ปโมทติ เป็น อิธปฺปโมทติ, จาตุ-ทสี เป็น จาตุททสี, อุ. ที่ ๒ นั้น เอาอักขระที่ ๑ ซ้อนหน้าขระที่ ๒ เอาอักขระที่ ๓ ซ้อนหน้า อักขระที่ ๔ ดังนี้ จตฺตาริ-ฐานาน เป็น จตฺตาริฏฐานาน, เอโสว จ-ฌานผโล เป็น เอโสวจชุฌานผโล,
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More