ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 19
ไม่ต้องทีฆะก็ได้ เหมือน Q. ว่า จตูหิ-อปาเยหิ เป็น จตุหปาเยหิ
เป็นต้น ] ถ้าสระหน้า เป็นทีฆะ สระเบื้องปลาย เป็นรัสสะ ถ้าลบแล้ว
ต้องทีฆะสระหลัง เหมือน อุ. ว่า สทฺธา-อิธ เป็น สทฺธีธ เป็นต้น
เมื่อว่าโดยสังเขป ถ้าลบสระสั้นที่มีรูปไม่เสมอกัน ไม่ต้องทีฆะ สระ
สั้นที่ไม่ได้ลบ ถ้าลบสระยาวหรือสระสั้นที่มีรูปเสมอกัน ต้องทีฆะ
สระสั้นที่ไม่ได้ลบ ถ้าสระ ๒ ตัวมีรูปไม่เสมอกัน ลบสระเบื้องปลาย
บ้างก็ได้ อุ ว่า จตฺตาโร-อิเม ลบสระ อิ ที่ศัพท์ อิเม เสีย สนธิ
เป็น จตฺตาโรเม, กินนุ-อิมา ลบสระ อิ ที่ศัพท์ อิมา เสีย สนธิ
เป็น กินนุมา, นิคคหิตอยู่หน้าลบสระเบื้องปลายได้บ้าง Q. ว่า
อภินนฺทิ-อิติ เป็น อภินนฺทุนติ
หลัง ๑.
[๒๐] อาเทโส มี ๒ แปลงสระเบื้องหน้า ๑ แปลงสระเบื้อง
แปลงสระเบื้องหน้าดังนี้ ถ้า อิ เอ หรือ โอ อยู่หน้า มีสระ
อยู่เบื้องหลัง แปลง อิ ตัวหน้าเป็น ย ถ้าพยัญชนะซ้อนกัน ๓ ตัว
ลบพยัญชนะที่มีรูปเสมอกันเสียตัวหนึ่ง อุ ว่า ปฏิสัณฐารวุตติ-อสส
เป็น ปฏิสัณฐารวุฒิยสุส, อคฺคิ-อาคาร เป็น อคยาคาร์, เอา เอ
เป็น ย อุ. ว่า เต-อสส เป็น ฺยสส ได้ในคำว่า ตุยสฺส ปหีนา
โหนฺติ, เม-อย เป็น มยาย ได้ในคำว่า อธิคโต โข มยาย
ธมฺโม, เต-อห์ เป็น ตุยาห์ ได้ในคำว่า ตุยาห์ เอว วเทยย
เอา โอ เป็น ว อุ. ว่า อถโข-อสฺส เป็น อถวสุส เอา อุ เป็น
ว อุ ว่า พหุ-อาพาโธ เป็น พหุวาพาโธ, จักขุ-อาปาก เป็น
จกฺขุวาปาå.