การเข้าถึงธรรมกายและวิชชาธรรมกายของพระมงคลเทพมุนี ยิ่งรู้จัก ยิ่งเคารพรักท่าน (ฉบับพิเศษ) หน้า 10
หน้าที่ 10 / 115

สรุปเนื้อหา

การเข้าถึงธรรมกายและวิชชาธรรมกายของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) เป็นพยานแห่งการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า การค้นพบนี้ช่วยในการฟื้นฟูค่าสอนดั้งเดิมของพระพุทธศาสนาให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และสร้างความกระจ่างในพระพุทธศาสนาอีกครั้งหนึ่ง. ในพระไตรปิฎกมีการกล่าวถึงธรรมกายหลายแห่ง โดยเฉพาะในพระสูตร ๔ แห่งที่เกี่ยวข้องกับธรรมกายอย่างลึกซึ้ง โดยเฉพาะในพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ซึ่งช่วยสร้างเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าธรรมกาย.

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรม
-ธรรมกาย
-วิชชาธรรมกาย
-พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-การฟื้นฟูคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การปฏิบัติธรรมจนเข้าถึง “ธรรมกาย” และการ ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ถือเป็นพยานแห่งการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นการรื้อฟื้นค่าสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในด้านการปฏิบัติให้เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง และ ยังเป็นการจุดประกายให้พระพุทธศาสนาสว่างไสวโชติช่วง ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง หลักฐานธรรมกาย (จากธรรมกายในคัมภีร์เถรวาท) คำว่า “ธรรมกาย” (ธมฺมกาย) นี้ มีปรากฏอยู่ในที่ ต่าง ๆ หลายแห่ง ทั้งในพระไตรปิฎก และในคัมภีร์ต่าง ๆ ธรรมกายในพระไตรปิฎกปรากฏอยู่ในพระสูตร ๔ แห่ง ดังนี้ แห่งแรก อยู่ในพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ความว่า ตถาคตสฺส เหตุ วาเสฏฐา อธิวจน์ ธมฺมกาโย อิติปิ พรหมกาโย อิติปิ ธมฺมภูโต อิติปิ พรหมภูโต อิติปิฯ (ดูก่อน วาเสฏฐะและภารทวาชะ คำว่าธรรมกาย www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More