ข้อความต้นฉบับในหน้า
สมัญญาภิธาน แบบเรียนบาลำโยงารณสมุรณ์แบบ ๕
ก ข ค ง
จ ฉ ช ฌ ม ญ เรียกว่ากรรดา
ฎ ฏ ฐ ธ N เรียกว่ากรรดา
ฑ ฒ ณ เรียกว่ากรรดา
พยัญชนะเหล่านี้ เรียกว่า พยัญชนะวรรณะ เพราะเกิดเป็นหมู่เป็นพวกในฐานะเกิดเดียวกัน
๘. พยัญชนะวรรณะ ๘ ตัว คือ ย, ร, ล, ว, ส, พ, อ เรียกว่า พยัญชนะวรรณะ เพราะเกิดไม่เป็นหมู่เป็นพวกกัน
๙. พยัญชนะ คือ เรียกว่า นิจคิด แปลว่ากดสารคือเวลานานออกเสียงทางลม ไม่ให้อาปากกว้างตามปกติ จะกำหนดและกรณีไว้
๑๐. พยัญชนะ คือ ตามส าสนไหวร เรียกว่า อนุสร ná ซึ่ง ไปตาม หมา ยิ่งไปตามสระ คือ อ. อี อู เท่านั้น เช่น อง เสด็จ อากาศ ฯลฯ
๑๑. การเขียนพยัญชนะมี ๒ แบบ คือ
ก) การเขียนพยัญชนะที่ต้องอาศัยสระหลังเรียกว่าปราส ลพยัญชนะ มีทั้งหมด ๒๒ ตัว ยกเว้น น (นิคติ)ตัวเดียวเท่านั้น เพราะฉะนั้น เมื่อแยกพยัญชนะออกจากสระ พยัญชนะต้องวางอยู่หน้า สระต้องวางอยู่หลังพยัญชนะเสมอ เช่น
ก แ(ยก) พยัญชนะออกจากสระเป็น ก+อ
ก้า แยกพยัญชนะออกจากสระเป็น ก+อา
กิ แยกพยัญชนะออกจากสระเป็น ก+อิ
กี แยกพยัญชนะออกจากสระเป็น ก+อี
กุ แยกพยัญชนะออกจากสระเป็น ก+อุ
กู แยกพยัญชนะออกจากสระเป็น ก+อู
กา แยกพยัญชนะออกจากสระเป็น ก+อ
โก แยกพยัญชนะออกจากสระเป็น ก+โอ
ข) การเขียนพยัญชนะที่อาศัยสระเหนือเรียกว่า บุปผสยพยัญชนะ มีตัวเดียว คือ ‘(นิคติ)’ เท่านั้น เพราะฉะนั้น นิคติ ต้องไปตามหลังสระคืออัลสระเสียงสั้น ๆ อี อู เท่านั้น เช่น ก กุ ฯ
ฐานเกิดของอักษร
ฐานในหลักไวยากรณ์นี้ หมายถึงที่เกิดของอักษร คือ อักษร หรือ อักษรที่ปล่งเสียงออกมานั้น จะ มีฐานที่เกิด เช่น เปล่งออกมาจากคำ คือ อ. อา. ก. ข. ค. ม. อ. อักษรเหล่านั้น ชื่อว่า มีฐานเป็นฐานเกิด เป็นต้น อักษรในาบาบาลังก ๑๑ ตัว มีฐานที่เกิด ๖ ฐาน คือ