รำเริง บันเทิงใจ ด้วยสัมโมทนียกถา เล่ม ๑ ๑๔๑ ร่าเริงบันเทิงใจ ด้วยสัมโมทนียกถา เล่ม 1 หน้า 142
หน้าที่ 142 / 146

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหนังสือพูดถึงความสำคัญของการพยากรณ์ที่ไม่ควรให้ความหวังที่ไม่ถูกต้อง พร้อมยกตัวอย่างการให้พรที่สร้างความประเสริฐ โดยกล่าวถึงอนิสงส์จากการทำความดี เช่น การทำทานอย่างมีใจผ่องใส นอกจากนี้ยังมีการแนะนำวิธีการเขียนบทสัมโมทนียกถาที่เน้นความชัดเจนและประเด็นที่สัมพันธ์กัน เพื่อให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์สูงสุดจากการนำเสนอนั้น.

หัวข้อประเด็น

-การพยากรณ์ที่ถูกต้อง
-การให้พรและอนิสงส์
-วิธีเขียนสัมโมทนียกถา
-ผลบุญจากการทำดี
-ความต่อเนื่องในเนื้อหา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รำเริง บันเทิงใจ ด้วยสัมโมทนียกถา เล่ม ๑ ๑๔๑ ตัวอย่างการพยากรณ์ เช่น คุณโยมที่ได้ตั้งใจจะนำบุญญกุศลในวันนี้ จะได้เป็นมหาเศรษฐีทุกคน และหมุนญาติของคุณโยมที่ล่วงลับไปแล้วก็จะได้บุญไปด้วย อย่างนี้ไม่ถูกต้องทั้งหมด จึงไม่ควรพยากรณ์ การให้พร เป็นการให้ความประเสริฐ โดยมักจะกล่าวถึงอนิสงส์ที่เกิดขึ้นจากการทำความดี เช่น ทานบุตร ที่กระทำด้วยใจที่ผ่องใส่ ทั้ง 3 ระยะ คือ ก่อนให้ดีใจ ขณะให้ก็อิ่มใจ หลังจากให้ไปแล้วก็จะมะเร็งก็นถึงด้วย ความปลื้มใจ ยอมมีอำนิสงส์ คือ เมื่้อครคราวที่ท่านกุศลส่งผล ย่อมมีโภคทรัพย์และความสุขในทุกข์ ทั้งในปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย ๑.๔ เนื่องจากระชับ ประเด็นชัดเจน ไม่เยิ่นเย้อ กววน ทำให้เกิดความสับสน ๑.๕ เนื่องจากทุกส่วนควรมีความต่อเนื่องสัมพันธกัน เป็นการเรียงให้ไพเราะเหมาะสม ไม่ใช่การนำประโยคที่ชอบใจมาเรียงต่อ ๆ กัน โดยไม่มีความสัมพันธ์ ๒. วิธีการเขียนบทสัมโมทนียกถา วิธีการเขียนบทสัมโมทนียกถา มีลำดับขั้นตอน ดังนี้ ๒.๑ นั่งสมาธิให้จิตผ่องใส ก่อนเลิก กำหนดแนวคิด โครงเรื่อง ให้เนื้อหามีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More