ธรรมนารา การกำเนิดนิกายสรวาสติวาท (2) หน้า 4
หน้าที่ 4 / 31

สรุปเนื้อหา

บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจและวิเคราะห์เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับมติธรรมในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเมื่อมีการแตกนิกายภายในอินเดีย ในบทความนี้มีการถอดความและเรียบเรียงจากบทความภาษาญี่ปุ่นที่เสนอความคิดเห็นและการศึกษาจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ทั้งในฝ่ายเหนือและใต้ ที่ยังไม่ค่อยมีการศึกษาในประเทศไทย ขอบคุณ รศ.ดร. สุมารี มหานนท์รัชย์ สำหรับคำแนะนำในการจัดทำบทความนี้

หัวข้อประเด็น

-บทนำ
-มติธรรม
-นิกายในพระพุทธศาสนา
-การแปลและเรียบเรียง
-ข้อถกเถียงเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมนารา ว่าราชวิทยาลัยพระคริสตธรรม ฉบับที่ 5 ปี 2560 1. บทนำ¹ ชื่อภิษาฎายในพระพุทธศาสนายุคแตกนิกายในอินเดีย มีการเรียกขานแตกต่างกันออกไปตามชื่อพื้นที่ที่นับนั่นแผ่ อยู่บ้าง ตามชื่อผู้นำที่เป็นอาจารย์บ้าง ตามมติธรรมที่นิยม ความเป็นนิยาม ณ์ ต่างๆ บ้าง ในกรณีหลัง หนึ่งในนั้นคือ นิยาม สรวติติว่า ซึ่งตั้งชื่อด้วยการยอมรับการอยู่จริง [ของพระสงฆ์] --------------------------- ¹ บทความนี้แปลและเรียบเรียงมาจากบทความภาษาญี่ปุ่นในชื่อเรียว่า “ฉี—ฉบ” มีอธิบาย “ของาศาสตร์ดาราจักรติดคุณ Mitomo Kenyo แห่งมหาวิทยาลัย ริชิโซ ซึ่งได้มอบให้ทางวารสารธรรมธราธเป็นผู้ถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาไทย ทางวารสารจึงนำมาลงในบทความนี้ เพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาข้อถกเถียงเกี่ยวกับประเด็นนี้ ทางวารวิชาการพุทธศาสตรบ้านเรายังมีน้อยมาก หรือเรียกว่าแทบไม่ปรากฏให้เห็น ดังนั้น จึงเป็นโอกาสสำหรับผู้กระหายใคร่รู้ในการศึกษา เนื่องจากบทความมีความคิดเห็นและการศึกษาโดยสำรวจคัมภีร์ที่แตกต่างจำนวนมาก ทั้งของพระพุทธศาสนาฝ่ายเหนือ-ใต้ ซึ่งวารวิชาการในประเทศไทยไม่คุ้นเคยเลย จึงขอแบ่งลงเป็น 2 ตอน นอกจากนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้อ่านจะเพิ่มการอธิบายคำศัพท์หรือประเด็นที่ไม่คุ้นเคยให้เหมาะสมกันในเนื้อหาและเวลาในการเพิ่มเติมข้อมูล จะใส่ (ผู้แปล) กำไว้ ทำไว้ ณ ที่สุดนี้ ขอบคุณ รศ.ดร. สุมารี มหานนท์รัชย์ ที่ได้ให้คำแนะนำต่างๆ 2 คำว่า มติธรรม สื่อถึง คำสอนหลักของนิกายต่างๆ หรืออาจเรียกว่าสูตรธรรมหลักของนิกายต่างๆ ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่ให้การชี้เฉพาะลงไปดังนั้น คำว่ามติธรรมในที่นี้ผู้แปลมุ่งหมายถึง คำสอนหลักหรือหัวข้อธรรมเฉพาะนิกายแล้ว ในยุคพระพุทธศาสน์ที่แตกเป็น 18 นิกายเป็นต้นมา (ผู้แปล)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More