การวิเคราะห์ศัพท์คำว่า '語言' และที่มาของคำในภาษาสันสกฤต การกำเนิดนิกายสรวาสติวาท (2) หน้า 14
หน้าที่ 14 / 31

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายศัพท์คำว่า '語言' ซึ่งมีที่มาจากคำว่า 'יָעֵן' (shuo วะท?) และวิพากษ์คำเกี่ยวข้องทั้งในภาษาฝรั่งและภาษาสันสกฤต รวมถึงความแตกต่างและบริบทของการใช้คำในประวัติศาสตร์ การศึกษาแสดงให้เห็นว่าแม้ในคัมภีร์และศิลาจารึกที่ผ่านมานั้น ยังไม่มีการปรากฏชื่อที่ชัดเจน ถึงความสำคัญของคำว่า 'อินากายสรวาสติวนา' และคำที่เกี่ยวข้องในบางบริบท ชี้ให้เห็นความลึกซึ้งของการศึกษาภาษาและการใช้คำในประวัติศาสตร์ต่าง ๆ ในมุมมองทางภาษาศาสตร์, ความหมาย, และที่มา

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเกี่ยวกับศัพท์
-ความสัมพันธ์ระหว่างภาษา
-ความสำคัญของคำในประวัติศาสตร์
-การใช้คำในคัมภีร์และศิลาจารึก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ได้อธิบายศัพท์คำว่า “語言” คือ “יָעֵן” (shuo วะท?, คำอธิบาย?) แต่ไม่ใช่เป็นคำแปลที่มาจากคำว่า สรว-อัสติ-วะนะ Sarva-asti-vāda หากพิจารณาจากคำแปลภาษาดังกล่าวกลับไปเป็นภาษาสันสกฤต อาจเป็นคำว่า Sarva-vākya-vāda แต่ก็ไม่ปรากฏชื่อในศิลาจารึกส่วนในคัมภีร์ มัฏฐศรีปิใบจา ผู้แปลได้แปลชื่ออินกาย ถกวยาหรึก (Ekavyavahārika) เป็นภาษาจีนว่า “訛一語言” (Zhi yi yùyán) ดังนั้น เมือพิจาณาเทียบคำว่า “語言” (yùyán) ที่แปลมาจากคำว่า “vyavahārika” และคำว่า คำว่า “語言” ในศัพท์คำว่า “—全部語言部” อาจมาจากคำสันสกฤตว่า “Sarva-vyavahārika (สรว-อยาหรึก)” ซึ่งนินายอาจไม่ใช้ชื่อว่าสรว-อุยาหรึกมาแต่เดิม แต่บริบทปัจจุบันแม้หลักฐานทางโบราณคดี ก็ยังไม่พบชื่ออินากว ในศิลาจารึก ที่อินากายสรวาสติวนา ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกมีอยู่ 10 แห่งด้วยกัน21 ในฐานะกียเก่าที่สุด ปรากฏชื่อว่า Sarvastivat[rana22 ส่วนที่อื่น ๆ ก็ปรากฏชื่อว่า Sarvastivaana, Sarvastivatina เป็นต้น แต่อย่างใดก็ตาม จากศิลาจารึกข้างต้นเหล่านี้ บ่งบอกว่า “ชื่อของอินกายสรวาสติวตา เป็นที่รู้จักแล้วในสมัยนั้นอย่างแน่นอน เพียงแต่ไม่ใช่รากด้วยชื่อที่ใช้เป็นคำสันสกฤตคุณแบบแผน ฝ่ายคัมภีร์ทีปวะสะ มาหาวังสะ ที่เป็นคัมภีร์ทางสายบาถี มีการบันทึกคำว่า “สุพัตถวาทิน” (Sabba-attha-vādin) และพบคำว่า “ติถวาทิน”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More