ข้อความต้นฉบับในหน้า
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา
ขนฺตยาเยว วฑฺฒนฺติ เต,
เกวลานปิ ปาปาน์ ขนฺติ
มูล์ นิกนฺตติ,
ครหกลหาทีน มูล ขนติ ขนฺติโก,
ขนฺตี ธีรสุส ลงฺกาโร,
ขนฺตี ตโป ตปสฺสิโน,
ขนฺตี พล์ ว ยตีนํ,
ขนฺติ หิตสุขาวหา,
ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี
ยสสฺสี สุขสีลวา,
ปิโย เทวมนุสฺสานํ
มนาโป โหติ ขนฺติโก,
อตฺตโนปิ ปเรสญฺจ
อตฺถาวโห ว ขนฺติโก,
สงฺคโมกขคม มคฺคิ
อารุฬโห โหติ ขนฺติโก,
สตฺถุโน วจโนวาท
กโรติเยว ขนฺติโก,
ปรมาย จ ปูชาย ชินํ
ปูเชติ ขนฺติโก,
ทุลลภิญฺจ มนุสฺสตฺต์,
พุทฺธุปฺปาโท จ ทุลุลโภ,
ทุลุลภา ขณสมฺปตฺติ
สทฺธมฺโม ปรมทุลุลโภ,
สุโข พุทฺธานมุปปาโท,
สุขา สทฺธมฺมเทสนา,
สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี,
สมคฺคานํ ตโป สุโข,
สวดมนต์ฉบับธรรมทายาทและอุปสมบทหมู่
กุศลธรรมทั้งหลาย แม้ทั้งสิ้นนั้น
ย่อมเจริญด้วยความอดทนแท้
ความอดทน ย่อมตัดเสียได้ ซึ่งรากเง่าแห่ง
ความชั่วทั้งหลาย แม้ทั้งสิ้น
ผู้อดทน ย่อมชื่อว่าขุดเสียได้ ซึ่งรากเง่าแห่ง
หายนะเหตุทั้งหลาย มีการติเตียนกัน และ
การทะเลาะกัน เป็นต้น
ความอดทน เป็นเครื่องประดับของนักปราชญ์
ความอดทน เป็นตบะของผู้มีตบะ
ความอดทน เป็นกำลังของผู้บำเพ็ญพรตทั้งหลาย
ความอดทน นำประโยชน์ และความสุขมาให้
ผู้อดทน ย่อมชื่อว่าเป็นผู้มีมิตร เป็นผู้มี
ลาภ เป็นผู้มียศ เป็นผู้มีความสุขเป็นปกติ
ผู้อดทน ย่อมชื่อว่าเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจ
ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
ผู้อดทน ย่อมชื่อว่าเป็นผู้นำประโยชน์
มาให้แก่ตน และแก่ชนเหล่าอื่นอีกด้วย
ผู้อดทน ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ย่างขึ้นสู่หนทาง
เป็นที่ไปสวรรค์ และพระนิพพาน
ผู้อดทน ย่อมชื่อว่าทำตามวจโนวาทของ
พระศาสดาทีเดียว
ผู้อดทน ย่อมชื่อว่าบูชาสมเด็จพระชินเจ้า
ด้วยการบูชาอย่างยิ่ง
ความเป็นมนุษย์ ก็หาได้ยาก
ความเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้า ก็หาได้ยาก
ความถึงพร้อมด้วยขณะสมัย ก็หาได้ยาก
ธรรมของสัตบุรุษ หาได้ยากอย่างยิ่ง
ความเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ให้เกิดสุข
การแสดงพระสัทธรรม ให้เกิดสุข
ความพร้อมเพรียงของหมู่ ให้เกิดสุข
ความเพียรของผู้พร้อมเพรียงกัน ให้เกิดสุข
35