ประวัติศาสตร์และมรดกของเหวียพะโค Case Study กฎแห่งกรรม เล่มที่ 4 หน้า 36
หน้าที่ 36 / 54

สรุปเนื้อหา

เหวียพะโคแปลว่าทุ่งหญ้าใหญ่ในภาษากะเหรี่ยง เป็นแหล่งโบราณคดีและธรรมชาติสำคัญในประเทศไทย ที่เคยเป็นเส้นทางเดินทัพในอดีต ปัจจุบันกลายเป็นมรดกโลก ป่าทุ่งใหญ่ห้วยขาแข้ง เป็นต้นที่มีตำนานและความหลากหลายทางชีวภาพ ครั้งหนึ่งมีไฟไหม้ป่าขนาดใหญ่ที่ส่งผลกระทบใหญ่หลวง ภาพรวมที่น่าสนใจนี้สะท้อนถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ธรรมชาติและประวัติศาสตร์ในพื้นที่นี้ ที่ยังมีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่เรายังไม่เคยรู้ ยังทอดยาวต่อไปตามกาลเวลา.

หัวข้อประเด็น

- ประวัติศาสตร์ของเหวียพะโค
- ความสำคัญของป่าทุ่งใหญ่ห้วยขาแข้ง
- เหตุการณ์ไฟไหม้ป่าในปี 2537
- มรดกโลกและวิธีการอนุรักษ์
- ชีว diversity ในพื้นที่

ข้อความต้นฉบับในหน้า

“เหวียพะโค” แปลว่า ทุ่งหญ้าใหญ่ในภาษากะเหรี่ยง หมายถึงดินแดนรกร้างเวิ้งว้างไพศาลทางทิศตะวันตกของ ประเทศไทย ในอดีตเคยเป็นเส้นทางเดินทัพระหว่างอาณาจักร พุกามและกรุงศรีอยุธยา มีซากเมืองโบราณสมัยทวาราวดี หลายเมือง ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ผู้คนแถบนี้ อยู่กระจัด กระจายกันเป็นกลุ่มเล็กๆ พบขวานหินในถ้ำ และบนหลุมฝัง ศพมีหินเรียงเป็นวงกลมตั้งแต่พื้นที่อุ้มผางจนถึงอุทัยธานี ผืนป่าตะวันตกแห่งนี้ หลบเร้นอารยธรรมเมืองมานาน แสนนาน กลายเป็นมรดกโลก มีชื่อว่า ป่าทุ่งใหญ่ห้วยขาแข้ง ดินแดนบริสุทธิ์เกิดตำนานป่ามากมายกลางทุ่งนับหมื่นๆ ไร่ ที่ เรายังไม่รู้คุณค่าและความยิ่งใหญ่ของสรรพสิ่งที่แอบซ่อนอยู่ ในปานานนับกัลป จนกระทั่ง...... ไฟไหม้ป่า ภูตทหารเก่าเฝ้าทรัพย์ ไปไม่ลามาไม่ไหว้ เกิดไฟใหม้ห้วยขาแข้งครั้งใหญ่ ในปี พ.ศ. 2537 สื่อมวลชน ทุกแขนงจึงเข้าไปทำข่าวในป่ากันอย่างคึกคัก พบว่านักดับไฟป่า เป็นนักเรียนตัวโค่งอายุ 20 ปีอยู่ชั้น ม. 1 โรงเรียนสาขาโรงเรียน ห้วยคตพิทยาคม ตําบลสมอทอง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเป็นจุดที่อยู่ใกล้ไฟป่ามากที่สุด ข่าวโทรทัศน์ทุกช่องแพร่ 68 case study 69 กฎแห่งกรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More