การศึกษาร่วมระหว่างวัดและโรงเรียนในประเทศไทย Case Study กฎแห่งกรรม เล่มที่ 4 หน้า 53
หน้าที่ 53 / 54

สรุปเนื้อหา

ในประเทศไทยมีจำนวนวัดและโรงเรียนที่เท่าๆ กัน ซึ่งสามารถนำมารวมกันเพื่อพัฒนาเด็กนักเรียน ให้มีจิตใจที่ดีและมีสติปัญญาแข็งแกร่ง การศึกษาในรูปแบบนี้ช่วยให้เด็กปฏิบัติตนในทางที่ถูกต้อง และสร้างความเจริญให้กับประเทศชาติ อดีตนักศึกษากลุ่มนวสัมพันธ์ จังหวัดเพชรบุรีได้กล่าวถึงประสบการณ์ในจิตวิญญาณ ณ สถานที่ที่ทำให้เขาเข้าใจกฎแห่งกรรมและประสบการณ์เชิงลึกอย่างยอดเยี่ยม ในการสัมภาษณ์ เขารับรู้ถึงอานุภาพของพระธรรมกายที่ช่วยให้เขามองเห็นทางที่ถูกต้องได้อย่างชัดเจน. เขาเชื่อมั่นว่าสิ่งนี้จะสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนอื่นๆ

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาในประเทศไทย
-บทบาทของวัด
-การรวมวัดและโรงเรียน
-พัฒนาจิตใจเด็ก
-เอกฉัตร มั่นคง
-พระธรรมกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มานั้น ตรงกับเรื่องราวที่เกิดขึ้นทุกอย่าง ประเทศไทยโชคดีที่มีจำนวนวัดและโรงเรียนเท่าๆ กัน คือ โรงเรียน 40,000 หลัง วัด 30,000 วัด การศึกษาจึงควรรวม วัดและโรงเรียนเข้าด้วยกัน พอมารวมกัน เด็กนักเรียนจะได้ ฝึกฝนจิตใจ เลิกตีกันและมีสติปัญญาเข้มแข็ง เดินถูกทาง ประพฤติดีและปฏิบัติตนชอบ และเป็นบัณฑิตในอนาคตสร้าง ความเจริญให้แก่ประเทศชาติต่อไป สัมภาษณ์ เอกฉัตร มั่นคง อดีตนักศึกษากลุ่มนวสัมพันธ์ จังหวัดเพชรบุรี ผมขอกราบขอบพระคุณ คุณครูไม่ใหญ่อย่างสูงที่ได้นำ เรื่องที่ผมประสบมาด้วยตนเอง มาเปิดเผยให้ผมและชาวโลกได้เข้าใจกฎแห่งกรรมดียิ่งขึ้น เรื่องนี้ ติดอยู่ในใจของผมมานานนับสิบปี มีคำถามเกิดขึ้นในใจของผม ตลอด 10 ปีที่ผ่านมาว่า “ตอนนั้น มันเกิดอะไรขึ้น? เราฝันไป หรือเปล่า?" คุณครูไม่ใหญ่ทำให้คำถามข้อนี้หมดจากใจของผมทันที ท่านเปรียบเป็นดวงตาให้คนตาบอดได้เห็นทาง และผมยังรู้สึก อัศจรรย์ใจในญาณทัสสนะของคุณครูไม่ใหญ่ ด้วยอานุภาพแห่ง พระธรรมกาย รายละเอียดที่ผมลืมไปแล้ว คุณครูไม่ใหญ่นำมา พูดได้อย่างถูกต้อง แม่นยำในเรื่องนั้นๆ ผมจึงเชื่อมั่นล้าน เปอร์เซ็นต์ว่า อานุภาพแห่งพระธรรมกายนี้ ยิ่งใหญ่เกินกว่า สติปัญญาของมนุษย์ธรรมดาจะคาดคะเนได้ ผมอยากให้เรื่องนี้ สอนใจคนอื่นๆ ว่า มนุษย์ไม่ได้อยู่แต่ 102 case study
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More