โรงเรียนห้วยคตพิทยาคม: การศึกษาในหมู่บ้านกะเหรี่ยง Case Study กฎแห่งกรรม เล่มที่ 4 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 54

สรุปเนื้อหา

โรงเรียนห้วยคตพิทยาคม มีครูใหญ่ชื่อ ครูปัญญา วิทยารัตน์ และครูน้อย 2 คน ตั้งอยู่ใต้ถุนวัดสมอทอง ใกล้ชุมชนกะเหรี่ยงและคนไทยพื้นราบ ชีวิตนักเรียนยากลำบาก ขาดแคลนอาหารและสิ่งของการเรียนการสอน ทั้งนี้ ครูวิ่งรอกให้การศึกษา และให้ความช่วยเหลือนักเรียนจากการขาดแคลนอาหารด้วยการทำงานรวมกันกับวัดในการเป็นแหล่งการอุปโภคบริโภค ทั้งนี้ โรงเรียนยังจัดกิจกรรมค่ายห้วยคต เพื่อการศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยมีการเตรียมอาหารและดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด.

หัวข้อประเด็น

-ชีวิตการเรียนของนักเรียน
-การสนับสนุนจากครู
-กิจกรรมค่ายห้วยคต
-ความยากลำบากในชีวิต
-การศึกษาในชุมชนกะเหรี่ยง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

โรงเรียนห้วยคตพิทยาคม มีครูใหญ่ชื่อ ครูปัญญา วิทยารัตน์ และครูน้อย 2 คน คือ ครูวันเพ็ญ วิทยารัตน์ ภรรยาของครู ใหญ่และครูจิตภานันท์ แสง ห้องเรียนของนักเรียน เป็นใต้ถุนอยู่ในวัดสมอทอง บางวัน ชาวบ้านเอาโลงศพมาตั้งรอพระสวดไว้ข้างๆนักเรียน พ่อแม่ ของนักเรียนเหล่านี้ เป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง อีสานอพยพ และชาวไทยพื้นราบ ล้วนตั้งบ้านเรือนห่างๆกันในหมู่บ้านกะเหรี่ยง ละว้าและไทย ทําไร่ข้าวโพด ทําสวน เก็บของป่า เห็ดบ่าขาย เด็กนักเรียนบางคนยากจนเดินเท้าเปล่าไปโรงเรียน ชุด นักเรียนเป็นเสื้อผ้ารับบริจาค และไม่มีอาหารกิน ทำให้เรียน หนังสือไม่รู้เรื่อง ซ้ำร้าย พ่อแม่ของเด็กบางคนไปรับจ้างที่อื่น หายสาบสูญไปจากพื้นที่ ทิ้งลูกไว้ เด็กๆ ต้องพึ่งอาหารกัน บาตรของพระภิกษุ 2 รูปที่วัดสมอทองต่อชีวิต แต่ก็มีบางวันที่ พระบิณฑบาตไม่ได้ ครู 3 คนจึงต้องหาทุนมาทำอาหารให้ ครู วิ่งรอกผลัดเวรสอนหนังสือ และสอนหุงข้าว ครูให้เด็กๆ เอา ข้าวมาจากบ้าน แล้วออกไปเก็บผักบ่ามีหัวปลี ฯลฯ มาท่าอาหาร ครูจะบอกให้นักเรียนใส่ผักมากๆ ใส่เนื้อไก่น้อยๆ การมีอาหารกิน ทําให้เด็กๆมาเรียนหนังสือกันมากขึ้น ห้วยคตมีธรรมชาติสวยงาม กิจกรรมค่ายห้วยคตของ นักศึกษา จึงเน้นไปที่การสำรวจและศึกษาสิ่งแวดล้อม โดยมี ครูปัญญาและครูวันเพ็ญ วิทยารัตน์ ควบคุม ดูแลและประสานงาน กิจกรรมของค่ายมีป่า น่านั่งสมาธิ 2 รอบ มี รอบเช้าและเย็น ตอน บ่าย พี่ๆ นักศึกษา หลวงพ่อพุทโธ ปัจจุบันอยู่บนเกาะกลาง อุทยาน พื้นที่โดยรอบ อยู่ใต้น้ำ ส่วนสำนัก แนะนำน้องๆ นักเรียน สงฆ์ย้ายไปอยู่อีกที่หนึ่ง เรื่องแนวทางการศึกษา ต่อ ตามด้วยชั่วโมงสันทนาการ รวมระยะเวลาเข้าค่าย 9 วัน สํานักสงฆ์น้ำพุร้อน สมอทอง พื้นที่จัดค่าย เป็นสำนักสงฆ์ชื่อ สำนักสงฆ์น้ำพุร้อนสมอทอง ตั้งอยู่ในป่าห่างไกลจากตัวหมู่บ้านสมอทอง มีพระภิกษุ 2 รูป คือ หลวงตาชรา และพระอาคันตุกะหนุ่มอายุราว 30 ปีเศษ ธุดงค์ มาจากที่อื่นมาจำพรรษาอีก 1 รูป หลวงตามีรูปร่างผอมบาง สันทัด แก้มตอบ หลังค่อมเล็กน้อย ผมขาวแซมดำ ใบหน้าใจดี มีเมตตา และพูดภาษาพื้นบ้าน ท่านรู้สึกยินดีที่มีคนมาปฏิบัติ ธรรมในเขตสํานักสงฆ์ของท่านที่ท่านเรียกว่า “ดินแดนศักดิ์สิทธิ์” ตกค่ำ บนเขาปกคลุมด้วยความมืดมิดจนผู้คนต่างถิ่น 72 case study 73 กฎแห่งกรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More