การสร้างเสริมศีลธรรมในเด็กปฐมวัย การสร้างเสริมศีลธรรมในเด็กปฐมวัย หน้า 8
หน้าที่ 8 / 33

สรุปเนื้อหา

ปัญหาศีลธรรมในเด็กปฐมวัยทวีความรุนแรง เช่น การค้าหา สุใหม่และการลดอัตราการเกิดเด็กในไทย แนวทางการแก้ไขรวมถึงการหาสาเหตุและการเสนอแนวทางป้องกันที่มุ่งเน้นการปลูกฝังนิสัยที่ดีในเด็กตั้งแต่อายุ 0-6 ปี เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตในอนาคต และเสริมสร้างการเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในสังคม

หัวข้อประเด็น

-ปัญหาศีลธรรมในเด็ก
-แนวทางการแก้ไขปัญหา
-การปลูกฝังนิสัยในเด็ก
-การพัฒนาเด็กปฐมวัย
-คุณภาพชีวิตเด็ก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การสร้างเสริมศีลธรรมในเด็กปฐมวัย A Proposed Sila-Dhamma Cultivation Model for Early Childhood 9. เด็กยากจนเข้าสู่กระบวนการค้าหาสุใหม่ คือ การขายแรงงานและการขายตัว 10. อัตราการเกิดของเด็กในประเทศไทยลดลง และคุณภาพของเด็กลดลงเช่นกัน ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาด้านศีลธรรม ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นในเด็ก ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องไปสู่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ด้อยคุณภาพ ไม่สามารถเป็นทรัพยากรที่ช่วยพัฒนาสังคมและประเทศชาติได้ แต่กลับจะกลายเป็นภาระ ขยายปัญหาสิทธิในเรื่องนี้ ควรดำเนินการไปพร้อมๆ กัน 2 แนวทาง คือ 1) หาทางแก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าวอย่างเร่งด่วน โดยสืบสาวไปสาเหตุ ที่ทำให้เกิดปัญหาในแต่ละเรื่อง และพิจารณาแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมมาใช้ เพื่อคลี่คลายสาเหตุดังกล่าว ตามกระบวนการของหลักอธิศัก 4 ซึ่งแน่นอนว่า สภาพปัญหาแต่ละเรื่องเกิดมาจากสาเหตุหลายๆ ประกอบ ที่ทับซ้อนเกี่ยวเนื่องกัน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะแก้ไขให้สำเร็จได้โดยเร็ว 2) แนวทางแห่งการป้องกัน ไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นในเด็ก ซึ่งเป็นแนวทางที่ผู้เขียนเห็นว่าจะนำเสนอไว้ในบทความนี้ แนวคิดในการเสนอนแนวทางการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาในเด็กและเยาวชน คือ การเริ่มดำเนินการปลูกฝังลักษณะนิสัยและพฤติกรรมให้แก่เด็กปฐมวัย (อายุ 0-6 ปี) เริ่มตั้งแต่เกิด ยังไม่ได้เจาะจงสภาพแวดล้อมภายนอกที่จะซ้ำนำไปให้เกิดปัญหาได้ กะจะกำหนดแนวทางในเรื่องนี้ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More