พัฒนาการทางสังคมในวิถีอัสสัม การสร้างเสริมศีลธรรมในเด็กปฐมวัย หน้า 19
หน้าที่ 19 / 33

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ว่าด้วยพัฒนาการทางสังคมของวิถีอัสสัม โดยมุ่งเน้นที่ทฤษฎีเชาว์ปัญญา ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ เชาว์ปัญญาเบื้องต้นและขั้นสูง การพัฒนาภาษาในเด็กปฐมวัยถูกแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ซึ่งรวมถึงภาษาสังคมและภาษาการพูดกับตนเอง นอกจากนี้ยังมีการเสนอขั้นตอนในการพัฒนาทักษะทางสังคม 5 ขั้นตอนที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ใหญ่ในการสนับสนุนเด็กในช่วงการโต.

หัวข้อประเด็น

-พัฒนาการทางสังคม
-เชาว์ปัญญา
-วิถีอัสสัม
-การเรียนรู้ในเด็ก
-พัฒนาภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมาภาพ วัฒนธรรมวิถีทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561 พัฒนาการทางสังคมของ วิถีอัสสัม (ทฤษฎีเชาว์ปัญญา) เน้นว่ามนุษย์ธรรมะและการเรียนรู้มีความสำคัญต่อการพัฒนาเชาว์ปัญญาโดยแบ่ง เชาว์ปัญญาเป็น 2 ระดับ คือ 1) เชาว์ปัญญาเบื้องต้น คือ เชาว์ปัญญาตามธรรมชาติ โดยไม่ต้องเรียนรู้ 2) เชาว์ปัญญาขั้นสูง คือ เชาว์ปัญญาที่เกิดจากการอบรมเลี้ยงดู ถ่ายทอดวัฒนธรรมโดยใช้ภาษา วิถีอัสสัม ได้แบ่งพัฒนาการทางภาษามาเป็น 3 ขั้น สำหรับเด็กปฐมวัยอยู่ใน 2 ขั้นแรก คือ ก. ภาษาที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เรียกว่า ภาษาสังคม (Social Speech) เป็นภาษาที่เด็กใช้ในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่นในช่วงอายุ 0-3 ปี เพื่อสื่อสารความคิดความรู้สึกต่างๆ ที่ขณะนั้นกำลังนึกคิด และต้องการที่จะShowความต้องการ อารมณ์ ความรู้สึกของตนเองกับผู้อื่น ข. ภาษาที่พูดกับตนเอง 3-7 ขวบ (Egocentric Speech) เป็นภาษาที่เด็กใช้พูดกับตนเองในช่วงอายุ 3-7 ปี โดยไม่เกี่ยวข้องกับผู้อื่น เพื่อช่วยในการคิด ตัดสินใจแสดงพฤติกรรม ค. ภาษาที่พูดในใจเฉพาะตน 7 ขวบขึ้นไป (Inner Speech) ขั้นตอนการพัฒนาทักษะทางสังคม มี 5 ขั้นตอน คือ 1) ผู้ใหญเตรียมเครื่องมือ รูปแบบ คำแนะนำ และกำลังใจ 2) เด็กทำกิจกรรมภายใต้การดูแลของผู้ใหญ่ 19 วิถีอัสสัม, อ้างถึงใน มณิทรา ธรรมศูนย์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More