การสร้างเสริมจิตสำนึกในเด็กปฐมวัย การสร้างเสริมศีลธรรมในเด็กปฐมวัย หน้า 22
หน้าที่ 22 / 33

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอโมเดลการปลูกฝังศีลธรรมในการศึกษาของเด็กปฐมวัย โดยเน้นที่พัฒนาการทางอารมณ์และสังคมต่างๆ ตั้งแต่อายุ 18 ปีถึง 40 ปีขึ้นไป สิ่งสำคัญคือต้องสร้างเสริมศีลธรรมโดยมีหลักการทางศีลธรรมและเกณฑ์ในการตัดสิน ร่วมกับการพัฒนาการของเด็ก ทั้งนี้การศึกษาจริยธรรมในพระพุทธศาสนายังแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างในมุมมองเมื่อเปรียบเทียบกับจริยศาสตร์ตะวันตก.

หัวข้อประเด็น

-การพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
-หลักการศีลธรรม
-การปลูกฝังศีลธรรมในเด็ก
-ความแตกต่างระหว่างจริยศาสตร์ตะวันตกกับพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การสร้างเสริมจิตสำนึกในเด็กปฐมวัย A Proposed Sila-Dhamma Cultivation Model for Early Childhood ชั้น ช่วงวัย พัฒนาการ รายละเอียด 6 18-22 ปี ขึ้นรู้สึกโดดเดี่ยว เป็นขั้นความรับผิดชอบ เป็นผู้ใหญ่สร้างตัว 7 22-40 ปี ขึ้นความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ หรือความรู้สึกเฉื่อยชา เป็นขั้นสร้างความเป็นบิกแผน สิงบริคติระกล รัฐบาลหน้าที่รับผิดชอบครอบครัว ลูก 8 40 ปีเป็นต้นไป ขึ้นความมุ่งมั่น สมบูรณ์ หรือหมดหวัง ทอดอาลัยชีวิต เป็นช่วงวัยที่มีความภาคภูมิใจในความสำเร็จของชีวิต หรือเกิดความท้อแท้ สิ้นหวังไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงสภาพที่เกิดขึ้น 3. การสร้างเสริมศีลธรรมในเด็กปฐมวัย การสร้างเสริมศีลธรรมในเด็กปฐมวัย ต้องอาศัยหลักการทางศีลธรรมและเกณฑ์การตัดสินทางศีลธรรมร่วมกับการพิจารณาพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 3.1 การวิเคราะห์ศีลธรรมและเกณฑ์การตัดสินทางศีลธรรม จากการศึกษาหลักทางศีลธรรมและเกณฑ์การตัดสินทางศีลธรรมในหัวข้อที่ 2 พบว่า ศีลธรรมในทางพระพุทธศาสนามีความแตกต่างกันในทางจริยศาสตร์ตะวันตก กล่าวคือ จริยศาสตร์ตะวันตกจะแบ่งแยกประเภทชัดเจน แต่ในพระพุทธศาสนา การปฏิบัติทาง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More