การทำให้คัมภีร์ใบลานชัดเจน วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2557 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 132

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงกระบวนการทำความสะอาดและการลงน้ำหมึกเพื่อให้ข้อความในคัมภีร์ใบลานชัดเจนขึ้น ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่า โดยมีการเปรียบเทียบระหว่างว่าจะแก้ไขข้อความในหลายร้อยปีที่ผ่านไปอย่างไรจนเหลือข้อความที่ชัดเจนในปัจจุบัน การทำงานร่วมกันของลูกหลานในการอนุรักษ์คัมภีร์คัมภีร์เพื่ออนาคตก็นับเป็นความสำคัญแบบเดียวกัน เพื่อที่จะสามารถย้อนกลับไปยังช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ที่ข้อความนี้ถูกสร้างขึ้นอีกครั้ง

หัวข้อประเด็น

-เทคนิคการทำความสะอาด
-การใช้เทคนิคลงน้ำหมึก
-ประโยชน์ในการอนุรักษ์
-การถ่ายทอดความรู้ให้กับรุ่นหลัง
-ความสำคัญของคัมภีร์ใบลาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เส้นอักขรodolลงน้ำหมึก เส้นอักขรหลังน้ำหมึก จะกลับปรากฏชัดขึ้น สำหรับโครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย ก่อนการบันทึกภาพคัมภีร์ใบลาน พระไตรปิฎกเพื่อรวบรวมเป็นไฟล์ภาพดิจิทัล เจ้าหน้าที่โครงการจะทำความสะอาดหน้าใบลาน แต่ละหน้าด้วยการทำความสะอาดแบบแห้งและแบบเปียก แล้วลงน้ำหมึกเพิ่มความคมชัดให้ ตัวอักษร เพื่อให้สามารถนำไปถ่ายภาพออกมาด้วยได้อย่างชัดเจน หลายครั้งพบว่าเมื่อส่างน้ำหมึกไป จะปรากฏข้อความที่ผ่ารเดิมไม่ได้ลงสีคำไร สันนิษฐานว่าเมื่อผ่ารหรืออาจารย์ผู้ตรวจสอบน่าจะแก้ไขเพิ่มเติมหลังจากลบเม็ดหรือถ่านบอดออกไปแล้ว แต่เมื่อทำกลับมาด้านทวนในภายหลังพบข้อผิดผลาด จิจกาแก้ไขเพิ่มเติมลงไป แล้วไม่ได้รับนำเม่าหรือถ่านบอดซ้ำอีก ข้อความที่จากเพิ่มในภายหลังเมื่อหลายร้อยปีที่ผ่านมา จงปรากฏเป็นรอยเส้นสีดำในปัจจุบันผ่านกาลเวลา ความลับแกล้มทุกเส้นที่บรรจงจดลงไป ตัวอักษรทุกตัวที่เรียงร้อยเป็นข้อความส่วนกล้ากจากความตั้งใจของบรรพชน แต่มดด้วยสีดำจากธรรมชาติที่ได้จากการสังเกตและภูมิปัญญาของปู่ยา ตายาย น่าเสียใจที่ข้อความบางตอนขาดหายไปด้วยสาเหตุนี้นับนับปีกา แต่ก็มีดีใจที่ลูกหลานยังสนใจ มองเห็นคุณค่า เร่งเสาะหาและช่วยกันอนุรักษ์คืนสภาพตัวอักษรและข้อความที่บรรพชนเคยสั่งไว้ให้กลับฟื้นเห็นเป็นเส้นอักษรที่อ่านได้ชัดเจนในปัจจุบัน เปรียบเสมือนการย้อนวันคืนกลับไปสู่ช่วงเวลาประวัติศาสตร์ที่คัมภีร์อันทรงค่าต่อศรัทธาสร้างขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง.​ กาญจน์ โรห์ตนะ และคณะ, ความรู้ด้านการซ่อมอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน. กรุงเทพมหานคร : สํานักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๕๕. ก่องแก้ว วีระประจักษ์, หนังสือโบราณของไทย. สารานุกรมสำหรับเยาวชน ๒๖ (๒๕๑๒): ๗๙–๙๑. ๒๕ อยู่ในบุญ กันยายน ๒๕๕๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More