ศิลปะ ข้อ 2: การไม่ลักทรัพย์และสภาพเศรษฐกิจ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2557 หน้า 80
หน้าที่ 80 / 132

สรุปเนื้อหา

การบรรยายนี้กล่าวถึงศีลข้อ ๒ นั่นคือ การไม่ลักทรัพย์ โดยอธิบายถึงความสำคัญในด้านเศรษฐกิจและบทบาทของการศึกษาศีลธรรมในการพัฒนาอาเซียน ว่าการประพฤติปฏิบัติเช่นไรจะนำไปสู่เศรษฐกิจที่มั่นคงและเป็นธรรม พระวิทยากรได้อธิบายถึงกลุ่มบุคคลที่หาเงินโดยไม่ชอบธรรมว่ามีกี่ประเภท และเน้นย้ำถึงความสำคัญของการมีศีลธรรมในสังคมเพื่อสร้างปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในชุมชน

หัวข้อประเด็น

- การไม่ลักทรัพย์
- บทบาทของศีล ๒ ในเศรษฐกิจ
- ประเภทของบุคคลในด้านการหาเงิน
- ความสำคัญของศีลธรรมในสังคม
- การเตรียมตัวสำหรับประชาคมอาเซียน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ศิลปะ ข้อ 2 (ตอนที่ 1) สภาพเศรษฐกิจ-นิสัยชาวโลก ๑๐ อนุรักษ์พงศ์ศิลป์, หัวใจเศรษฐี บรรยายโดย พระราชวรวนาจารย์ รองเจ้าภาวาสวัดพระธรรมกาย แด่ พระวิทยากรโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ วันเสาร์ที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๑๔.๓๐–๑๕.๐๐ น. ณ ศาลาสมานูสรณ์ (ศาลากลางไทย) วัดป่าน้ำ เขตด่านจิรุก จังหวัดนนทบุรี ขออนุโมทนาบุญกับท่านวิทยากรทุกท่านที่ตั้งใจจะนำศีล ๕ ไปปลูกฝังให้นั ดทุกหมู่บ้านทั่วไปในประเทศไทย ขอให้บุญบังเยอะ ๆ นะครับ เรื่องที่รับอาราธนามาบรรยายวันนี้ก็คือ เรื่องศีลข้อ ๒ แต่ถ้าพูดเฉพาะศีลข้อ ๒ บางทีเรื่องต่อเนื่องระหว่างศีลข้อ ๒ กับศีลข้ออื่นจะตกหายไปไม่เพียงพอกับการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกัน ก็จำเป็นต้องกล่าวพาดพิงไปถึงศีลข้ออื่นด้วย สภาพเศรษฐกิจ-นิสัยชาวโลก ๑๐ ศีลข้อ ๒ การไม่ลักทรัพย์ เป็นเรื่องของเศรษฐกิจ จิ่งขอโอกาสให้ภาพรวมสภาพเศรษฐกิจ-นิสัยชาวโลก ๑๐ ซึ่งปรากฏในภาพสรุปองค์ยกเป็นคุณครู องค์ดูดรนียา ทศกบิต ในพระสูตรนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแบ่งประเภทบุคคล โดยยึดหลักเศรษฐกิจจิตใจเป็นกลุ่มตามวิธีหาทรัพย์และเป็นประเภทตามการกิน-ใช้ การเลี้ยงดุสุขและครอบครัว การแบ่งปันช่วยเหลือสังคม การแบ่งปันทำบุญ และความมีปัญญา จากหลักการดังกล่าวว่า จึงแบ่งบุคคลออกได้เป็น ๓ กลุ่ม ๑๐ ประเภท ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ หากทรัพย์โดยไม่ชอบธรรม บุคคลกลุ่มนี้ออกหาทรัพย์ด้วยวิธีการทั้งผิดกฎหมายและผิดหลักศีลธรรม หรือถูกกฎหมายแต่ผิดศีลธรรม ที่แน่ ๆ คือ ผิดศีลธรรม คือ ไม่คำนึงถึงความเดือดร้อนของใคร ถ้าหาได้เป็นม่า อาม่าหรือสัตว์ก็แล้วกัน โกงได้เป็นโกง ปล้นได้เป็นปล้น เป็นพวกมิฉาชาว คณะกลุ่มนี้แบ่งได้เป็น ๓ ประเภท คือ -
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More