ข้อความต้นฉบับในหน้า
การทอดกฐินมีประวัติความเป็นมาอย่างไร?
ประเพณีทอดกฐินเกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งพุทธกาล มีอุราวาสหนึ่งพอออกพระสาย แล้ว พระสงฆ์ที่จำพรรษาอยู่ตามที่ต่าง ๆ ถึงตัวแทนเดินทางไปเฝ้าพระสมาบัติพุทธเจ้า (เป็นธรรมเนียมของพระในครั้งพุทธกาล) เพื่อที่จะวาดตลอพระในปีที่ผ่านมา พระสมาบัติพระทรงบัญญัติพระวินัยอะไรบ้าง มีพระธรรมเทศนาใหม่ ๆ อะไรบ้าง จะได้ศึกษาเล่าเรียนและนำบทพระพูดคุยด้วย แล้วจะได้กลับไปเล่าความรู้ใหม่ ๆ แก่พระภิษุรูปอื่นในท้องถิ่นของตน
มีอุราวาสหนึ่ง พระภิษุเมืองปัจเจริญ 30 รูป เดินทางรอนแรมตากแดด ตากฝน ลัดเลาะค้นหาและเดินผ่านป่า ผ่านเขา พอจิรโดนฝนบวกกับเจ๋งไม้ เจอหนาม เจออะไรต่าง ๆ ก็เปียกชื้นไปตามสภาพ พระสมามสัมพุทธเจ้าอัญเชิญให้ถวายผ้ากฐินแก่พระภิษุได้ตามเงื่อนไขที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ตั้งแต่นั้นมาจึงเกิดเป็นประเพณีทอดกฐินขึ้น
กฐินหรือผ้าป่าในเรื่องของการถวายน้ำ การนำปัจจัยที่ได้จากการทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ไปทำประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ มีความเกี่ยวเนื่องกับผ้าป่า หรือกฐินอย่างไร?
ถือว่าเป็นวิริยกรรมกฐิน หรือวิริยาผ้าป่า เพราะว่าทำไปเพื่อทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา เนื่องจากในช่วงวันทอดกฐิน ทอดผ้าป่า มีสาธุชนมาร่วมบุญที่เป็นจำนวนมาก และเห็นว่าจะต้องบำวัดด้วยปัจจัย ๓ เช่น เรื่องผ้า หรือเรื่องสถานที่เป็นอาคารสถานที่บ้าง เป็นโบสถ์ วิหาร ศาลา หรือกุฏิพระบ้าง ซึ่งแล้วแต่ว่าที่นั่น ๆ ขาดคนสิ่งใด จำเป็นจะต้องใช้งิ่งใด หรือว่าจะเป็นกองทุนฌาปนกิจ กองทุนรักษาโรคก็ได้ บางทีที่เป็นกองทุนการศึกษาของพระภิษุฐานญา คือสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา คือตัวเป็นวิริยกุศลหรือวิริยาผ้าป่าได้ด้วย
ในฐานะพุทธบริษัทเราควรมีทัศนคติและท่าทีอย่างไรในการชวนคนทำบุญ?
มีตัวอย่างเรื่องจริงในครั้งพุทธกาล อบาสก์ท่านหนึ่งไปฟังธรรมจากพระสมาสัมพุทธเจ้า แล้วเกิดศรัทธา อยากจะสั่งพระ แต่ตัวเองก็ทรัพย์ไม่พอ ก็ไปบอกคนทั้งเมืองมาทำบุญเลี้ยงพระ วันหนึ่งไปเจอเศรษฐีผู้หนึ่ง อุบลกิริยาชวนบุญทำกลางลูกค้ากำลังซื้อของเต็มร้าน ครุ่นเศรษฐีจะไม่กล้าคว้านคว้าท่านให้ดู ก็เลยจำใจร่วมบุญเขาไป แต่ครั้นเวลาจะเอาน้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อยเทให้จํากว่าจะเก็บกลัวว่าจะเกินไป ก็เลยเปิดดู แล้วเอามือไปไว้ กว่าที่จะออกมาสักหยดสองหยด ขึ้นส่วนร่วมในบุญด้วยหยดสองหยด อุบาสกไม่รู้ว่าอะไร ได้แต่กล่าวคำว่า “สายธ”