คนที่ควรจับผิด วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2557 หน้า 78
หน้าที่ 78 / 132

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการมักจะจับผิดผู้อื่นและการเข้าใจข้อบกพร่องของตนเอง โดยชี้ให้เห็นว่าความผิดของผู้อื่นไม่เกี่ยวกับความผิดของเรา และการพัฒนาตนเองคือการมองหาและแก้ไขข้อบกพร่องภายใน ทำให้เราเติบโตและดีขึ้นมากกว่าการมองหาความผิดของคนอื่น.

หัวข้อประเด็น

-พัฒนาตนเอง
-การจับผิด
-ข้อบกพร่อง
-การมองในแง่ดี
-การเติบโต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คนที่ควรจับผิด สุทสุส์ วชุมบุญเลิศ อุดโณ ปน ทุทัส ไทษคนอื่น เห็นง่าย แต่โทษตนเอง เห็นยาก (บุตร ๒๕/๒๕๖๗) คนเรามีมินิสัยชอบจับผิดผู้อื่น เห็นความผิดผู้อื่นเป็นเรื่องน่าจับจ้อง เข้าใจว่าถ้าจับผิดได้มาก ตนเองจะดูดีขึ้นมาก ยิ่งจับผิดได้บ่อย ตนเองจะดูผิดหลากหลายแหลม อันที่จริงความผิดของเขา ไม่ใช่ความผิดของเรา ความผิดของเขากับความผิดของเรามันคนละส่วนกัน ผู้คลาดจึงพยายามจับผิดตนเอง มองข้ามบกพร่องตนเองด้วยใจเป็นกลาง แม้เป็นสิ่งที่ทำได้ยากกว่า แต่จะเกิดประโยชน์แก่ตนได้มากกว่า การนำข้อบกพร่องมาพัฒนาแก้ไขปรับปรุงตนเอง ทำให้ตนเองมีพัฒนาการตลอด ตนเองจึงดียิ่งขึ้น เพราะจับผิดตนเอง แก้ไขตนเอง ไม่ใช่ดันขึ้นเพราะไปจับผิดใคร ใส่ร้ายใคร คนที่ควรจับผิดมากที่สุดก็คือ ตัวของเรานั่นเอง..
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More