การเปลี่ยนแปลงของพระพุทธศาสนาในตะวันตก สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 6
หน้าที่ 6 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของพระพุทธศาสนาจากตะวันออกสู่วงการตะวันตกในทศวรรษที่ผ่านมา โดยเฉพาะในยุคดิจิทัลที่พระพุทธศาสนายังคงมีบทบาท การรับรู้และยอมรับนิกายที่แตกต่างกัน เป็นการวิเคราะห์ถึงการปรับตัวของชาวพุทธพร้อมทั้งการรวมตัวกันของความเชื่อทั้งในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ สำหรับอนาคตของพระพุทธศาสนา อาจมีการผสมผสานระหว่างความคิดและนิกายต่างๆ ซึ่งจะมีผลต่อการพัฒนาและแผ่ขยายพระพุทธศาสนาในสังคมตะวันตกนี้

หัวข้อประเด็น

-การปรับตัวของพระพุทธศาสนา
-นิกายต่างๆ ของพระพุทธศาสนา
-การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล
-อนาคตของพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

จากตะวันออกคือเอเชีย สู่ดินแดนตะวันตกคือยุโรปและอเมริกา กรทั้งพระพุทธศาสนาถึงหลักฐานในตะวันตกได้สำเร็จจนถึงปัจจุบัน (Dhammapala 2017) ในร้อยปีที่ผ่านมา กรทั้งถึงล่ามสุดได้มีการเปลี่ยนแปลงมากมาย ถึงยุคดิจิทัล พระพุทธศาสนา ก็ยังคงผลิณกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใหม่ในรอยต่อของการเปลี่ยนผ่าน เนื่องจาก "พระพุทธศาสนา" อุปมาเหมือน "ตัวหนอน" อยู่ดี ๆ เมื่อปรับตัวกลายเป็น "ดักแก่" ชาวพุทธก็อาจรู้สึกอึดอัด ตกใจ กลัวต่อการเปลี่ยนแปลง ทว่าไปก็จะปรับตัวจนเคยชิน เข้ากันได้กับ "พระพุทธศาสนา" ในรูปแบบใหม่ ซึ่งเมื่อพระพุทธศาสนาเปลี่ยนผ่านจากสภาวะอุปมาเหมือน "ดักแก่" ทะยานขึ้นสู่วาฟฟ้าในสถานะของ "ผีเสื้อ" ชาวพุทธก็จะคุ้นเคยและเคยชินในท้ายที่สุด ทุกวันนี้ "พระพุทธศาสนา" ที่วาดตะวันตกก็รับรู้และยอมรับแบ่งออกได้เป็น 3 นิกายหลักคือ มหายาน เทวาท และเถรวาท (ทิเบต) แต่อนาคตพระพุทธศาสนา จะมีลายาทหลายรูปแบบ ซึ่งอาจผสมผสานระหว่างนิกายทั้ง 3 หรืออาจผสมผสานกับความคิดและความเชื่อของชาวตะวันตกแบบเดิม นิยายย่อย "พุทธมนายาน" ที่วาดตะวันตกก็รู้จักกันมากคือ “นิกายเซน” ส่วนพุทธเทวาท ฝรั่งก็รู้กันว่านับถือกันมากในแถบอาเชียน ส่วนชาวตะวันตกส่วนมากพบเป็นส่วนมากในแถบมองโกเลีย ทีม andบางประเทศในแถบรัสเซีย Bell (1991: 11-12) ได้วิจัยโดยตรวจสอบเอกสารและนำเสนอ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More