ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาธรรม
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 5 ปี 2560
เป็นไปในระดับ “สูงมาก” เนื่องจากสัดส่วนประชากรที่นับถือพระพุทธ
ศาสนาเถรวาทยังมีจำนวนน้อยมาก และการแข่งขันระหว่าง “องค์กรมิฐาว
พุทธทั้ง 3 รูปแบบ” ยังคงอยู่ในระดับ “ต่ำมาก” คือเทียบไม่มีกาารแข่งขันกันเลย
ประกอบกับตัวแปรด้านอื่นๆ คือ ค่านิยมทางสังคมของชาววันตที่มีต่อ
ชาวพุทธอถือเชีย ยังมีค่านิยมเป็นบวก ไม่งองพุทธศาสนติดลบหรือเป็น
ภัยคุกคามทางศาสนาเหมือนศาสนาอื่นในตะวันออกกลางที่เป็นปรัชญ
กันยาวนาน และโดยพื้นฐานการศึกษา ชาวยุโรป เหมาะกับพระพุทธ
ศาสนา จะเห็นได้ว่า “อังกฤษ” และ “เยอรมนี” รวมถึง “อเมริกาเหนือ”
เองได้มีความคุ้นเคยกับ “พุทธสายเถรวาท” อย่างนาน โดยเฉพาะในส่วน
ของ “อังกฤษ” มีประเทศเดียว ศรีลังกา และพม่า อยู่ในภาคอน
มายุาวาน จึงคุ้นเคยกับพุทธศาสนาสายเถรวาทค่อนข้างมาก
ในส่วนของพุทธสายมหายานและวัชรยานทางฟากอัสเซีย บัลเยียม
และฝรั่งเศส ก็สนใจ “พุทธศาสนิกดุ” และแนวปฏิบัติของมหายานและ
วัชรยานกล่าวคือเป็นสายหนึ่งของพุทธมหายาน เมื่อพิจารณา
ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล
ประกอบกับสถิติประชากรประเทศต่างๆ อา ยูโรเหนือ อันประกอบ
ด้วยประเทศอย่างสหราชอาณาจักร (66.2 ล้านคน) สวิตเซอร์แลนด์ (10.1 ล้าน
คน) เดนมาร์ก (5.8 ล้านคน) นอเวย์ (5.3 ล้านคน) ยูโรปตะวันตก ได้แก้
เบลเยียม (11.3 ล้านคน) เยอรมนี (83.1 ล้านคน) ฝรั่งเศส(65 ล้านคน)
สวิตเซอร์แลนด์(8.5 ล้านคน) ยูโรปาตะวันออก เป็นเด่นว่า รัสเซีย (146.8
ล้านคน) อังกฤษ (9.8 ล้านคน) และยูโรปตอนใต้ ซึ่งประกอบด้วยอิตาลี