สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 25
หน้าที่ 25 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการแพร่กระจายของพระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก โดยเฉพาะในชุมชนชาวพุทธโตรันตะ ที่ผู้นำองค์กรเข้าใจและนำพุทธศาสนาเข้ากับสังคม และวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยได้เริ่มมีการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมรู้สึกต้องการขยายเวลากับการปฏิบัติธรรมมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ชุมชนจิตวิญญาณที่อยู่ร่วม แสดงให้เห็นถึงการใช้ชีวิตร่วมกันในแนวทางธรรมะ

หัวข้อประเด็น

-การเผยแพร่พุทธศาสนาในตะวันตก
-ชุมชนชาวพุทธโตรันตะ
-การปฏิบัติธรรม
-การบูรณาการวัฒนธรรม
-ชีวิตในชุมชนจิตวิญญาณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก Western Buddhist Model 103 ประเทศต่างๆ ในสภาพยุโรป (European Buddhist Union 2017) อีกตัวอย่างของการเผยแพร่พุทธแบบชุมชนตะวันตกก็คือ “ชุมชนชาวพุทธโตรันตะ” (Trailatana Buddhist Community) ผู้นำองค์กรเข้าใจเข้าถึงและพัฒนาการบูรณาการพุทธศาสนาเข้ากับ วัฒนธรรมและสังคมแบบตะวันตก ได้ตั้งและขยายกิจการจนเจริญ เติบโตดูดหน้าตามลำดับ แม้ว่าจะมีความต้านและไม่เข้าใจจุดคิด วิธีปฏิบัติวิถีชีวิตงานที่องค์การจัดการสมัยใหม่ Sangharakshita (2017) ผู้อธิบาย “ชุมชนชาวพุทธไตรรัตนะ” ได้อธิบาย “ประสบการณ์ตรง” ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่โลกตะวันตกน่านสนใจ สรุปความว่าเมื่อองค์การริเริ่มครอสการปฏิบัติธรรมระยะ สั้นบางคอร์ส ผู้เข้าร่วมปฏิบัติธรรมมากคนซึ่งได้เข้าร่วมกิจกรรมซ้ำๆ เริ่มรู้สึกว่าพวกเขาต้องการให้ช่วยขยายเวลาการปฏิบัติธรรมให้ยาวขึ้น ถึงแม้ว่าพวกเขาจะมีปัญหาไม่สามารถเดินทางไปปฏิบัติธรรมที่ศูนย์ปฏิบัติธรรมออกเมือง หรือทำงานได้ ชาวตะวันตกที่มาเข้าคอร์สอบรมปฏิบัติธรรมต้องการผู้นำร่วมกิจกรรมกับชาวพุทธวงการอื่นๆ และต้องการใช้เวลากับธรรมะมากขึ้น แน่นอนว่าต้องการให้เวลาแก่การปฏิบัติธรรมมากยิ่งขึ้น ซึ่งในขณะนี้ “ส่งเสริมชาตะ” เรียกว่า “ชุมชนจิตวิญญาณที่อยู่ร่วม” (Residential Spiritual Communities) โดยหลักการแม้ว่าสมาชิกของชุมชนเหล่านี้ได้อาศัยอยู่กันเองแต่จมิ่งได้เน้นสมาชิกกันทุกๆ วัน รับประทานอาหารร่วมกัน ศึกษาธรรมร่วมกัน ส่งเสริมกันและกันในการใช้ชีวิตอย่างชาวพุทธ ซึ่งต้องใช้เวลากว่านานถึง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More