การทำสมาธิและการพัฒนาความคิดในองค์กรพุทธศาสตร์ สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 49
หน้าที่ 49 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของการทำสมาธิเพื่อสุขภาพและการพัฒนาความคิดในองค์กรพุทธศาสตร์ โดยเน้นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยและฝรั่งเศส และการฝึกบุคลากรให้กล้าคิดจินตนาการ เพื่อสร้างความสำเร็จอย่างแท้จริง องค์กรภาครัฐและเอกชนควรทำงานร่วมกันอย่างจริงจัง โดยนำแนวคิด 'คิดและทำ' มาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาภาวะผู้นำในพระพุทธศาสนาในระดับสากล การทำงานร่วมกันนับว่าเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญสำหรับการเติบโตและพัฒนาในทุกภาคส่วน เพื่อไม่ให้เป็นเพียงการประชุมที่ไม่มีผลจริง

หัวข้อประเด็น

- สมาธิและสุขภาพ
- วัฒนธรรมไทย vs ฝรั่งเศส
- การพัฒนาความคิดและจินตนาการ
- ความสำเร็จในองค์กรพุทธ
- การทำงานร่วมกัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ภัยไข้เจ็บ ควบคู่ไปกับการทำสมาธิระดับต่าง ๆ เพื่อรักษาสุขภาพ ก็เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ต้องนำมาใช้เพื่อ “เผยแผ่ธงรุง” กับฝรั่งเศสตนจก เพราะฝรั่งเศยังคงเป็นชาติตีสนใจ หลงใหลคลังใคร( Passion ) ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็ผู้คนสุดตัว และ มีวัฒนธรรมที่ขับเคลื่อนด้วยความคิด จินตนาการ ความฝันและความหวัง ซึ่งแตกต่างจากสังคมไทยที่ชินในชาติเบไม่กลัวคิดไม่กล้าจินตนาการ ไม่กล้าฝัน และไม่กล้าที่จะตั้งความหวังใด ๆ การฝึกบุคลากรองค์กรพุทธให้ “กล้า” คิด-จินตนาการ-ฝัน-หวัง เป็น “ปัจจัยสำคัญ” ที่นำไปสู่ “ความสำเร็จ” อย่างแท้จริง ประเด็นที่ 4 เงื่อนไขด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน (Related and Supporting Firms Conditions) ประเด็นที่จะประเมิน เป็นเรื่องของคุณภาพของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องและกิจกรรมสนับสนุน เพื่อค้ำจุนสถานะของภาวะผู้นำด้านพระพุทธศาสนาในประเทศนั้น ๆ ในทวีโลก เป็นที่น่าเสียดายว่า องค์การภาครัฐต่าง ๆ ของไทย ตลอดทั้งมหาวิทยาลัย ไม่ได้มีการทำงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมทำ” ที่เห็นและเป็นอยู่ ยังทำงานกันในลักษณะ “พูดแต่ไม่ทำ” (NATO Model : No Action Talk only)ประชุมติด ๆ กันประดุจจะประชุมลี่ ประมาณแต่ไม่ได้เนืองาน และเมื่อใช้แนวคิด “คิดและทำ” ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มหลัก คือ องค์กรภาครัฐคิดและทำ องค์กรภาคเอกชน คิดและทำ และวัดคิดและวัดทำ ก็สามารถสรุปได้เป็น 2 กลุ่มแนวคิดการจัดการที่สำคัญคือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More