การบูรณาการเชิงจิตวิทยาในพุทธศาสนา สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 32
หน้าที่ 32 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจแนวคิดการบูรณาการพุทธศาสนากับวัฒนธรรมตะวันตก โดยนำเสนอการใช้ศิลปกรรม คณิตศาสตร์ และวรรณกรรม ในการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการศึกษาพุทธศาสนาในผู้คนตะวันตก ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น คอร์สสมาธิ การฝึกอบรม เพื่อพัฒนาจิตใจและการบำบัดทางจิตใจ ผู้คนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านมา สิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงการปรับตัวของพุทธศาสนาให้เข้ากับยุคสมัยและความต้องการของชาวตะวันตกในด้านการพัฒนาตนเอง

หัวข้อประเด็น

-การบูรณาการพุทธศาสนา
-จิตวิทยาและการบำบัด
-สัญลักษณ์เชิงพุทธ
-การฝึกสมาธิในตะวันตก
-การตอบสนองต่อความต้องการทางจิตใจในวัฒนธรรมต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

110 ธรรมาภรณ์ วารสารวิชาการพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ปี 2560 พุทธศาสนิกชนชาวพุทธใจจงจงบุคคล รายละเอียดดังนี้ "แนวคิดการบูรณาการเชิงจิตวิทยา" (Psychological Integration) ซึ่งโดยย่อคือการบูรณาการพุทธศาสนาเข้ากับวัฒนธรรมตะวันตก โดยเฉพาะองค์รวมของ "ศิลปกรรม" "คณิตศาสตร์" และ "วรรณกรรม" สำหรับให้บริการชาวยุโรป และอเมริกันที่มีการศึกษา และบางธุรกิจชาวพุทธตะวันตกยังได้จัดสร้าง "พระพุทธรูป" และ "สัญลักษณ์เชิงพุทธ" ไว้ประดับตกแต่งบ้านและห้องรับแขกในเชิงสัญลักษณ์ด้วย ยกตัวอย่าง "ศูนย์ไตรรัตนะ" ที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดในสหราชอาณาจักร คือพุทธบริหาร ตั้งอยู่ในบรนดอล กรินมาหานครลอนดอนตะวันออกซึ่งในวันทำงานปกติ้งแต่ฉันทรจินจะทั้งถึงวันศุกร์ ทางศูนย์ได้เสนอโปรแกรม ฝึกอบรม "คอร์สสมาธิฯ" ช่วงเวลาอาหารกลางวัน เปิดรับผู้สนใจคอร์ส สมาชิกจะเริ่มต้น โดยจัดคอร์สและคลาสเรียนสมาธิตลอดสัปดาห์ คอร์สพิเศษสำหรับผู้ที่มีอาการซึมเศร้า และคอร์สสมาธิเพื่อบำบัดผู้มีอาการโรคพิษสุราเรื้อรัง "แนวคิดการบูรณาการชาวพุทธปัจเจกบุคคล" (The Integration of the Individual Buddhist) ซึ่งเป็นเฟรนช์ชาวพุทธที่สนใจสมาธิ คอร์สสาหรับปฏิบัติธรรมระยะสั้น ทั้งที่อาศัยอยู่ในชุมชนจิตวิญญาณที่อยู่ในอาศัย หรือทำงานในธุรกิจที่เป็นสัมมาชีพแบบชาวพุทธตะวันตก และชาวพุทธตะวันตกก็สื่อสารแนวคิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More