การสร้างชุมชนชาวพุทธในบริบทตะวันตก สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 27
หน้าที่ 27 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการสร้างชุมชนชาวพุทธในบริบทสังคมตะวันตก โดยเน้นว่าชุมชนที่ประสบความสำเร็จมักจะมีสมาชิกเป็นเพศเดียวกัน ในขณะที่ชุมชนที่มีสมาชิกชายและหญิงมักทำงานได้ไม่ดีเท่าไหร่ อย่างไรก็ตาม มีตัวอย่างของชุมชนที่ทำงานได้ดีเมื่อมีสมาชิกเป็นแม่และลูก เพราะมีความสัมพันธ์และการสนับสนุนกัน ในทัศนะของสังฆรักษะ ชุมชนแบบตะวันตกควรมีกระบวนการที่ยืดหยุ่นและเปิดกว้างต่อความหลากหลายของพุทธศาสนิกาย การเคลื่อนไหวงานควรปรับเปลี่ยนให้เข้ากับบริบทสังคม ไม่ควรถูกจำกัดด้วยกรอบแบบดั้งเดิม และควรสนับสนุนการทำงานที่มีเอกภาพเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ทุกนิกายของพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การสร้างชุมชน
-บทบาทของสมาชิกในชุมชน
-การสนับสนุนเพศเดียวกัน
-เอกภาพในพุทธศาสนา
-บริบทสังคมตะวันตก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

Order แปลว่ามวลมีตรีของคณะชาวพุทธะวันตก ชื่อเดิม ก่อนเปลี่ยนเป็น Triratana Buddhist Community ชุมชนชาวพุทธโตรัตนะ) ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด คือ ชุมชนที่สมาชิกเป็นเพศเดียวกัน อาจเป็นเพศชายล้วน หรือเพศหญิงล้วน ชุมชนที่มีสมาชิกสมระหว่างชายและหญิง รวมถึงครอบครัวของสมาชิกเหล่านั้น ทำงานได้ไม่ค่อยดีและมั่นไม่ยั่งยืน แต่อย่างไรตาม มีกุมชุนฝ่ายหญิงบางแห่งที่สมาชิกเป็นแม่และลูก ๆ ทำงานได้ดี สามีก็รายหรือคู่ บางครั้งเป็นสมาชิกของชุมชนเพศเดียว แยกกัน สังฆรักษะ มีความเห็นว่า “ชุมชนวิถีพุทธแบบตะวันตก” ที่ทำงานเข้ากับบริบทสังคมตะวันตกได้ผล ไม่ควรจะเป็นตัวแบบการจัดองค์กรเป็น “วัด” ที่พระสงฆ์นำ หรือ “สำนักปฏิบัติธรรม” ที่มวลสารนำ แต่ชุมชนชาวพุทธแบบตะวันตกยุคดิจิทัล ควรมี “กระบวนการ” ใน 6 ลักษณะดังนี้ 1. การเคลื่อนไหวงานทั่วโลก คือไม่ควร “ตีกรอบ” การทำงานเพื่อพุทธศาสนิกายใดนิยาม แต่ควรทำงานในลักษณะสร้างแรงบันดาลใจจากชาวพทธทุกนิกาย จึงเรียกขวนการทำงานนี้ว่า “ทั่วโลก” แทนที่จะเรียกว่า “ผสมผสาน” เพราะมีหลักฐานยืนยันชัดว่ามีพื้นฐานเกิดจาก “เอกภาพ” ที่เป็นผลดีต่อพุทธทุกนิกาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More