สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 51
หน้าที่ 51 / 63

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับเงื่อนไขด้านกลยุทธ์และการจัดการขององค์กรชาวพุทธในโลกตะวันตก พบว่าท้าทายในการรวมกันของชุมชนไตรรัตนะ เน้นความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย และแนวทางที่ต่างจากชาวพุทธตะวันออก โดยแต่ละองค์กรมีกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อกลยุทธ์และโครงสร้างการจัดการที่จะใช้ ควรนำมาพิจารณาในยุคดิจิทัล การเผยแผ่เชิงรุกสามารถปรับตัวได้เพื่อขยายประชากรชาวพุทธตะวันตก.

หัวข้อประเด็น

-กลยุทธ์องค์กร
-การจัดการยุคดิจิทัล
-การรวมชุมชนชาวพุทธ
-การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก Western Buddhist Model 129 ประเด็นที่ 5 เงื่อนไขด้านกลยุทธ์ โครงสร้างขององค์กร ชาวพุทธ และการแข่งขัน (Firm Strategy, Structure and Rivalry Conditions) ประเด็นนี้จะประเมิน และพิจารณาแนวโน้มในการตัดสินใจว่าองค์กร ชาวพุทธที่ก่신ขึ้น จะรวมกลุ่ม และบริหารจัดการได้อย่างไร? เท่าที่มีข้อมูล พบว่า “ยาก” และ “เป็นไปไม่ได้” ที่ “ชุมชนชาวพุทธ ไตรรัตนะ” จะมารวมกันคิด ร่วมกันทำองค์กรชาวพุทธอีก 2 รูปแบบ เพราะ “ค่ำเนียบ” และ “กระบวนการทำงาน” ระหว่างชาวพุทธตะวันตก กับชาวพุทธตะวันออกแตกต่างกัน เนื่องจาก “ชุมชนไตรรัตนะ” เน้น “ความเสมอภาคและทัศนียม” ระหว่างหญิงชายแต่ไม่เน้น “สถานะพระเป็นเจ้าอาวาส” หรือ “สถานะสมราวาสเป็นประธานมูลนิธิ” ในการบริหารจัดการองค์กร แต่ภาพคิด “แยกกันเดิน แยกกันดี” เพื่อพระพุทธศาสนา จำเป็นสำคัญต่อการขยายประชากรชาวพุทธตะวันตกเช่นกัน ข้อดีคือ แต่ละองค์กรต่างมี “กลุ่มเป้าหมาย” แตกต่างกัน ดังนั้นการกำหนดกลยุทธ์ จึงไม่เหมือนกัน เพราะแนวคิด Economy of Scale, Scope, Speed คิดและทำไม่เหมือนกัน ในแง่ของ “โครงสร้าง” พบว่า “โครงสร้างขององค์กรและการจัดการยุคดิจิทัล” เป็นรูปแบบขององค์กรและการจัดการยุคดิจิทัล ที่แนวด้วว “องค์การชาวพุทธ” ที่จะทำการเผยแผ่เชิงรุก ควรนำมาพิจารณา ปรับโครงสร้างองค์กร และใช้ถ้อยคำ “ศัพท์บัญญัติ” ที่เหมาะสมแบบของวัดวอราม แต่มีวิธีคิด วิธีทำงาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More