แนวโน้มและอนาคตพระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 35
หน้าที่ 35 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการประเมินสถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก โดยใช้แบบจำลองเพชรแห่งความได้เปรียบเพื่อวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันขององค์กรมุทธรวาทไทยเมื่อเปรียบเทียบกับองค์กรพุทธที่บริหารโดยชาวตะวันตก ซึ่งจะช่วยกำหนดกลยุทธ์ในการแข่งขันขององค์กรพุทธไทยในเวทีระดับโลก เนื้อหาครอบคลุมเงื่อนไขด้านปัจจัย การตอบสนองความต้องการ และหน่วยงานที่สนับสนุนที่ส่งผลต่อการเติบโตของพระพุทธศาสนาในภูมิภาคนี้.

หัวข้อประเด็น

-การประเมินพระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก
-แบบจำลองเพชรแห่งความได้เปรียบ
-กลยุทธ์องค์กรพุทธไทย
-เงื่อนไขด้านปัจจัย
-เงื่อนไขด้านความต้องการ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ชาวพุทธโต้รวัตนะและไพรย่อคำถิ่นชวนไว่สั่น ว่า "เป็นจุดเริ่มต้นที่ดี สำหรับเด็กและเยาวชน" (The Observer 2017) ตอนที่ 3 การประเมินและคาดการณ์ "แนวโน้มและอนาคตพระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก" ในการประเมินสถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก ผู้เขียน ใช้ "แบบจำลองเพชรแห่งความได้เปรียบของชาติ" (Diamond Model) เพื่อวิเคราะห์ "ขีดความสามารถในการแข่งขัน" ขององค์กรมุทธรวาทไทยกับองค์กรพุทธที่บริหารจัดการโดยชาวตะวันตก เพื่อ นำไปสู่การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กรพุทธไทยที่มีศักยภาพจะสามารถแข่งขันได้ในเวทีการพระศาสนาระดับโลก "แบบจำลองเพชรแห่งความได้เปรียบของชาติ" ประกอบด้วย 1. เงื่อนไขด้านปัจจัย (Factor Conditions) คือ ความสามารถขององค์กรพุทธในการเปลี่ยนทรัพยากรพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรอื่นๆ ให้เกิดความได้เปรียบ 2. เงื่อนไขด้านความต้องการ (Demand Conditions) คือ ปริมาณและระดับความต้องการของชาวตะวันตกต่อพระพุทธศาสนาทั้งคณะครูและวิปัสสนาญ์ ตลอดทั้งสมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา 3. เงื่อนไขด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน (Related and
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More