ธรรมนิธาน: การเผยแพร่พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 18
หน้าที่ 18 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงปัญหาการขาดทักษะภาษาอังกฤษของพระธรรมทูตไทยที่ส่งผลต่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก โดยเสนอแนวทางการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ๆ รวมทั้งแผนยุทธศาสตร์การเผยแพร่ที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจดิจิทัล ตลอดจนรูปแบบกิจกรรมที่ถูกต้อง เพื่อให้การเผยแพร่พระพุทธศาสนามีประสิทธิภาพมากขึ้นในบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

หัวข้อประเด็น

-ปัญหาการเผยแพร่พระพุทธศาสนา
-การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
-แผนยุทธศาสตร์การเผยแพร่
-กิจกรรมชาวพุทธ
-เศรษฐกิจดิจิทัล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมนิธาน วารสารวิชาการพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 5 ปี 2560 (ธนวิทย์ สิงห์เสนีย์ 2552: 1-2) นอกจากนี้ผู้เขียนมีข้อสังเกตว่า ปัญหาสำคัญที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข ก็คือการที่พระธรรมทูตไทยขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่น ซึ่งส่วนเป็นอสรรคัญคันงใหญ่ต่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้แก่วาวันตกเข้าใจพระพุทธศาสนาได้อย่างถ่องแท้ มหาเถรสมาคมและสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ตลอดทั้งกรมการศาสนา จะต้องกำหนด “แผนยุทธศาสตร์การเผยแพร่พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก” โดยกำหนดนโยบายและมาตรการ ด้วยการช่วยกันสร้างวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์โครงการ และจัดทำนโยบายเชิงกลยุทธ์แตกต่าง เพื่อแก้ปัญหาที่พระธรรมทูตไทยไม่เคยทำ และทำไม่ได้ เพื่อให้ “ตัวแบบการเผยแพร่พระพุทธแบบเดิม ๆ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเร็วกว่าที่ผ่านมา และต้นทุนต่ำกว่าเดิม เหมาะสมกับเศรษฐกิจยุคดิจิทัล แบบที่ 2 “ตัวแบบการเผยแพร่พระพุทธแบบสมาคม” เป็นเรื่องใหม่สำหรับวงวิชาการพุทธศาสนาในประเทศไทย เพราะการเผยแพร่พระพุทธศาสนายุโรนำโดยชาวตะวันตกในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ที่เดินทางมาทำงานในแถบอินเดียได้ และประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย แล้วเกิดความสนใจศึกษาคำสอนดั้งเดิมพระพุทธศาสนา ประทับใจ ชาบซึ่งนำไปปฏิบัติ กลับไปประเทศของตนแล้วดำเนินการ “กิจกรรมชาวพุทธ” ในรูปแบบ “สถาบันชาวพุทธตะวันตก” (Western
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More