นวัตกรรม Economy of Speed ในพุทธศาสนา สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 45
หน้าที่ 45 / 63

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการนำแนวคิด Economy of Speed มาปรับใช้ในพุทธศาสนา เพื่อทำให้การเผยแพร่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและความร่วมมือระหว่างองค์กรพุทธต่างประเทศ การพิจารณาเรื่องภาษาท้องถิ่นในยุโรปเป็นความท้าทายที่สำคัญ โดยเสนอแนวทางให้แต่ละองค์กรเลือกแนวคิดที่เหมาะสมกับการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น การวิจัยและพัฒนา (R&D) เพื่อส่งเสริมแนวทางการบูรณาการในการเผยแพร่ศาสนา.

หัวข้อประเด็น

- Economy of Speed
- การเผยแพร่พุทธศาสนา
- เทคโนโลยีดิจิทัล
- การตลาดดิจิทัล
- การร่วมมือระหว่างประเทศ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ผู้เขียนเห็นว่านวัตคิด Economy of Speed สามารถคิดและทำได้ทันที เพราะวัดใหญ่ๆ อย่างวัดพระธาตุขามายและเครือข่ายวัดพระธาตุไทย ต่างมีเครื่องมือดังกว่า ครบครับ เหลือเพียงแค่ครื่อกอบรมกว่าสื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล และแนวคิดการตลาดดิจิทัลที่ทันสมัย มาบูรณาการรับใช้ “พุทธศาสนา” ให้เผยแพร่ถึงถูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกข้อควรคำนึงในแบ่งของปัจจัยการแข่งขั้นคือ “ภาษาท้องถิ่น” ในยุโรป ที่เป็นอุปสรรคสำคัญขององค์พระฎราวในเวลานี้ วิธีแก้ไข ก็ต้องพยายามดึงเอาเข้า เดวตะวัตถุดในประเทศต่าง ๆ ให้มาร่วมกันคิดร่วมกันทำ จึงจะเห็นผลและมีประสิทธิภาพ เมื่อพิจารณารูปแบบ “กระบวนการ” ขององค์พระฎรานทั้ง 3 แบบ พบว่าตัวแบบการเผยแพร่ทั้ง 3 รูปแบบ มีโอกาส ศักยภาพ และขีดความสามารถที่จะขยายฐานชาวพุทธเชิงกว้างอย่างรวดเร็ว และได้เปรียบเหนือองค์ศาสนาอื่น ๆ เนื่องจากองค์ชาวพุทธต่าง ๆ มีความพร้อมทั้งด้านบุคลากรที่มีจำนวนมาก เครือข่าย และความคล่องตัวในการทำงาน (Scale Scope และ Speed) ทั่วแนวคิดการจัดการระหว่างประเทศ ที่ยังไม่เป็นที่ยุ่งในเวลานี้ คือ แต่ละองค์กรจะเลือกเอา “แนวคิด” มาปรับใช้กับ “ตัวแบบใด” ในการสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน ยกตัวอย่างแนวคิดการบูรณาการเชิงวิทยา และชาวพุทธเป็นรายบุคคล ต้องคัดแนวคิด “การวิจัยและพัฒนา” R&D: Research and Development มาสนับสนุนและส่งเสริมการบูรณาการทั้ง 2 วิธี ว่าในความเป็นจริง แต่ละประเทศ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More