กระแสคลื่นโลกาภิวัตน์และพลเมืองโลก สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก หน้า 8
หน้าที่ 8 / 63

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับกระแสคลื่นโลกาภิวัตน์ ทำให้โลกไร้พรมแดน การเคลื่อนไหวของคนและสิ่งต่างๆเป็นไปอย่างเสรี สะท้อนถึงการเชื่อมต่อกันในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงกระแสพลเมืองโลก โดยคาดการณ์ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมชีวิตของผู้คนในอีก 33 ปีข้างหน้า การปรับตัวในสังคมเมืองและพฤติกรรมใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นร่วมกับเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคมจะมีผลกระทบต่อโลกในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-กระแสโลกาภิวัตน์
-พลเมืองโลก
-การสื่อสารในยุคดิจิทัล
-พฤติกรรมมนุษย์ในสังคมเมือง
-เทคโนโลยีและการเดินทาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

186 ธรรมาธารา วารสารวิชาการพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 5 ปี 2560 ข้อ 2 กระแสคลื่นโลกาวิวัตน์ (Globalization Wave) เกิดแรงขับเคลื่อนให้โลกตกอยู่ใต้สภาวะ “ไร้พรมแดน” การเคลื่อนไหวของคน แรงงาน เงินทุน ธุรกิจ สินค้า บริการต่างๆ เป็นไปอย่าง เสรี ไร้พรมแดน เป็นโลกที่เชื่อมต่อกัน แค่ปลายนิ้วคลิกพิมพ์สื่อต่างอ้อม ความลงบนเคียงบ่า พระพุทธศาสนา จะเกิดกระแสและแรงกระเพื่อม ก่ออยู่ที่ “คีย์บอร์ด” และนิวทัชบินแต่ละคนช่วยกันคิด ช่วยกันคีย์ ช่วยกัน คลิก ช่วยกันสื่อสาร ช่วยกันกด Like กด Share และ Care ห่วงใยกัน โลกันต์ก้าวค่อยๆ ปรับสภาพเปลี่ยนสถานะจาก 1 ประเทศ 1 จุดหมาย ปลายทาง (One Country One Destination) กลายเป็นโลกใบเดียวที่มี จุดหมายปลายทางหนึ่งเดียว (One World One Destination) ข้อ 3 กระแสคลื่นพลเมืองโลก (Global Citizenship Wave) ในปี พ.ศ. 2593 หรืออีก 33 ปีข้างหน้า มีภาระการณ์ไว้ล่วงหน้า ว่า ส่วนของผู้คนที่พยามอยูในเมือง จะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเป็น อัตรา สูงถึงร้อยละ 66 ของพลเมืองโลก ดังนั้น วิถีชีวิต พฤติกรรม นิสัย อุปนิสัย การแสดงออก ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ และการสื่อสาร ของ ผู้คนในสังคมมนุษย์และสังคมเมือง จะเกิดสภาวะ “ปรับตัว” อย่างรุนแรง ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป จะเกิดประเด็นท้าทายชุดใหม่ ทั้งมิติต้นการ คมนาคมสัญจรไปมาด้วยรถไฟฟ้า รถยนต์ส่งมวลชนขนาดใหญ่ เครื่องบิน เดินทางไกลราคาต่ำ (Low Cost Airline) เทคโนโลยีสื่อสารทั่วโลก ต้นทุนต่ำ (Line , Messenger , WeChat) การศึกษา การแพทย์สมัยใหม่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More