อานิสงส์ถวายความหอม วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2558 หน้า 4
หน้าที่ 4 / 144

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับอานิสงส์ของการถวายความหอมในพุทธศาสนา โดยกล่าวถึงคุณค่าของกลิ่นหอมที่นำมาซึ่งความสุขและการสร้างบุญของบุคคล หนึ่งในนั้นคือการถวายสิ่งของหอมจากธรรมชาติ เช่น กำยาน และดอกไม้ รวมถึงความสำคัญของการให้อานิสงส์เพื่อเข้าถึงโชคลาภและการสร้างฐานะ

หัวข้อประเด็น

-อานิสงส์ถวายความหอม
-กลิ่นหอมในพุทธศาสนา
-ความสัมพันธ์ระหว่างกลิ่นหอมและความสุข
-การบูชาของหอม
-การสร้างบุญและการให้ทาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อานิสงส์ถวายความหอม มณฑปทาย ลาเต มนาป ผู้ให้ของที่น่าพอใจ ย่อมได้ของที่น่าพอใจ (มณฑปท้ายสูตร) "ของหอม" ตรงกันข้ามกับ "ของเหม็น" ของหอมเป็นคุณาริมณ์ที่ชื่นชอบ พอใจชื่นใจแก่คนทั่วไป ความสุขที่อยู่ในกลิ่นหอม ช่วยทำให้รวมผ่อนคลาย ร่างกายจะเกิดเป็นสารแห่งความสุขไปพร้อมกับความหอมที่จริงใจ ด้วยพิธีรราญธรรมชาติที่สร้างออกมาเป็นของหอมอันทรงคุณค่า ในสมัยพระถ.สสปสัมมาสุขเจ้ามีถุงบุรษท่านหนึ่งเกิดในตระกูลใหญ่ในใจกลางกรุงเทพฯ ตระกูลนี้ดุ่มมั่งคั่ง ไปด้วยทรัพย์และธัญญาหาร พร้อมสมบิต รัตนชาติมากมาย ครั้นถุงบุรษนี้เจริญวัยบรรลุวัยวะแล้ว เขาก็มีโอกาสไปฟังธรรมจากพระศาสดาซึ่งกำลังแสดงธรรมแก่มาณทวนจำนวนมาก พระธรรมนเทนาท พระผู้พระภาค เจ้าตรัสสอนเนื้อความว่า "บุคคลจะมีโภคทรัพย์มากได้ก็เพราะให้ทาน จะเข้าถึงสุดได้ก็เพราะ... อานิสงส์ถวายความหอม กลิ่นหอมข่มชาติต่อมา เขามีโอกาสสร้างบุญพิเศษ คือ ได้นำของหอมธรรมชาติสด ๆ จากพืชธรรมชาติที่เรียกว่า จุตตุคันนะ หรือ จุตตุคันนะ องค์ กันได้ (ยางหอมจากไม้) ๓. กำยาน (ยางหอมจากไม้) ๔. ดอกไม้ชนิดต่าง ๆ แล้วนำไปทำน้ำมันหอมฐุฏิของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นประจำทุกเดือน เดือนละ ๗ ครั้ง จากนั้นเขาได้บูชาตั้งความปรารถนากับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More