พ่อขุนรามคำแหงมหาราช: พระมหากษัตริย์แห่งสุโขทัย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2558 หน้า 67
หน้าที่ 67 / 144

สรุปเนื้อหา

พ่อขุนรามคำแหงมหาราชเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงอภิบาลพระพุทธศาสนาในอาณาจักรสุโขทัย โดยได้เชิญพระมหาเถรสงฆ์จากนครศรีธรรมราชมาสอนพระธรรมวินัยและตั้งคณะสงฆ์แบบลังกาวงศ์ ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมากยิ่งขึ้น ต่อมาในสมัยพระอยุธยา พระมหากษัตริย์ที่สืบทอดราชวงศ์พระร่วงได้ส่งเสริมพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น โดยการจัดระเบียบคณะสงฆ์และการศึกษาพระไตรปิฎก ทั้งในมหาปราสาทและตามภูมิปัญญาของประชาชน พระองค์ได้แบ่งคณะสงฆ์เป็น ๒ ฝ่าย คือ คามวาสและอธิษฐาน โดยมีจุดมุ่งหมายในการศึกษาและการเผยแพร่พระธรรมวินัย ซึ่งทำให้สุโขทัยกลายเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในสมัยนั้น

หัวข้อประเด็น

-พ่อขุนรามคำแหง
-อาณาจักรสุโขทัย
-พระพุทธศาสนาในไทย
-คณะสงฆ์ในประวัติศาสตร์
-การศึกษาพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อานุจักรสุโขทัย พ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง ลำดับที่ ๓ ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา เป็นอย่างดี ทรงอาราธนาพระมหาเถรสงฆราช ผู้เรียนใบพระไตรปิฎกขึ้นมาจากเมืองนครศรีธรรมราชให้มาพำนักที่จอถิ่น เพื่อมาเผยแผ่พระธรรมวินัยแก่ประชาราษฎร์และตั้งคณะสงฆ์แบบลังกาวงศ์ในอาณาจักรสุโขทัยจนพระพุทธศาสนามีความรุ่งเรืองไกลศกาดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๒ ว่า "..คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงสี มักโอทาน พ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้งชาวแม่ชาวเจ้าทายป้ายว่าบ่าง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสิ้นทั้งหลาย ทั้งผู้ชายผู้หญิง ฝูงท้วยมีศรัทธานใน*พระพุทธศาน ทรงศีลเมี่อพรอราชทุกคน..." "...พ่อขุนรามคำแห่งกระษัต โอทยานแก่นพาหลาร สังราชปราชญ์ เรียนจบูฎิโรหลกา กว่า ปฐมในเมืองนี้ ทุกลูกแต่เมืองศรีธรรมราชา ..." (คำอธานารักจากฐานข้อมูลสารากในประเทศไทย ศูนย์อนุราษฎรรยัยศรินธร) ต่อมาในสมัยพระอยุธยา พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วงลำดับที่ ๖ ทรงนำบำรุงพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองจวบจนสุโขทัยกลายเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา พระองค์มักจะทรงเผดียงพระสงฆ์เข้าไปเรียนพระไตรปิฎกในมหาปราสาท และทรงจัดระเบียบคณะสงฆ์แบ่งเป็น ๒ ฝ่าย คือ ฝ่าย "คามวาส" และฝ่าย "อธิษฐาน" โดยให้ฝ่ายคามวาสเน้นการสั่งสอนราชภูมิในเมืองและเน้นการศึกษาในพระไตรปิฎก ส่วนฝ่ายอธิษฐานให้เน้นการวินิษฐานและประจำอยู่ตามป่าหรือขนบตน ตู้พระธรรมไม่จำหลักปิดทอง เขียนสีระดับกระจก เล่าเรื่องเทวชาติ ศิลปะอยุธยาพุทธวรรณั์ ๒๐-๒๑ หมายเหตุ *พระพุทธศาสนา สะกดตามคำอ่านในศิลาจารึก ม.คม.บุณ ญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More