ความหมายและประเภทของบุตรตามหลักพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2558 หน้า 107
หน้าที่ 107 / 144

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความหมายของคำว่าบุตรที่มีสองประการหลัก ได้แก่ ผู้ทำสกุลให้บริสุทธิ์และผู้หยั่งมูลของพ่อแม่ให้เต็มอิ่ม โดยอธิบายถึงความหวังของพ่อแม่ที่เลี้ยงดูลูก ๆ เพื่อให้เห็นผลงานดี ๆ ที่สร้างความปลื้มปิติ พร้อมกับการแบ่งประเภทบุตรตามหลักพระพุทธศาสนา ซึ่งได้แก่ อิติชาตบุตร อนุชาตบุตร และอวชาตบุตร ที่มีคุณธรรมแตกต่างกัน ความสำคัญของการบวชในพระพุทธศาสนาเป็นตัวอย่างที่ทำให้บุตรเป็นอภิชาตบุตรคือการเพิ่มฐานะทางศีลและคุณธรรมให้สูงขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของบุตร
-ประเภทของบุตรในพระพุทธศาสนา
-คุณธรรมของบุตร
-ความคาดหวังของพ่อแม่ต่อบุตร
-การบวชและการพัฒนาคุณธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บุตร มาจากคำว่า ปุตฺต แปลว่า ลูก มีความหมาย ๒ ประการ คือ ๑. ผู้ทำสกุลให้บริสุทธิ์ ๒. ผู้หยั่งหวายของพ่อแม่ให้เต็มอิ่ม เพราะพ่อแม่มุ่งดูว่า วันหนึ่งตนเองต้องแก่และตาย สิ่งที่อยากได้คือ ความมืด ความปลื้มปิติใจให้หล่อเลี้ยงใจให้ลูกนั่น ความปลื้มปิติจะเกิดขึ้นเมื่อได้เห็นผลแห่งความดี หรือผลงานดี ๆ ที่เราทำไว้ ยิ่งผลงานดีมากเท่าไร ยิ่งพลับใจจากเท่านั้น แล้วอายุจะยืนยาว สุขภาพจะแข็งแรง เมื่อเป็นเช่นนี้ พ่อแม่จึงเลี้ยงดูบุตรให้ดีที่สุด เท่าที่จะทำได้ เพื่อหวังจะได้พวงศรตรกูลสีสืบต่อไป ทั้งยังเป็นความปลื้มปิติใจ ยามได้เห็นลูกๆ ทำดีดี ๆ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแถมประมาทของบุตรไว้ในปัจจุตสุดว่ามีอยู่ ๓ ประเภท คือ อิติชาตบุตร อนุชาตบุตร และอวชาตบุตร ดังนี้ ๑. อิติชาตบุตร หรือ อภิชาตบุตร คือ บุตรที่มีคุณธรรมสูงกว่าบิดามารดา เป็นบุตรชั้นสูง สร้างความเจริญแก่ตระกูล ๒. อนุชาตบุตร คือ บุตรที่มีคุณธรรมเสมอแบ่งมารดา เป็นบุตรชั้นกลาง พอศึกษาตระกูลไว้ได้ ๓. อวชาตบุตร คือ บุตรที่ฉลาด มีคุณธรรมต่ำกว่าพ่อแม่ เป็นบุตรชั้นต่ำ นำความเสื่อมเสียมาสู่วัตรตระกูล พ่อแม่ทุกคนเมื่อเลี้ยงบุตร ย่อมปรารถนาอภิวาทสุดู ชาติบุตรนี้ ท่านอธิบายลักษณะไว้เห็นชัดเจนว่า โดยตรงได้แก่ บุตรที่อุ้มสมศีล มีกายอธบรรธรรม งดเว้นจากบาปฐาน นับถือพระรัตนตรัย และหนีบำเพ็ญบุญกุศล ฟังธรรมเสียสละ มีปัญญา เป็นสมบัติสุข หรือได้บรรลุคุณธรรมสูงกว่าบิดามารดา โดยอ้อมได้แก่ บุตรซึ่งมีความรู้ ฐานะ อาชีพ และกิริยามารยาทต่าง ๆ ตลอดถึงจิตใจเหนือกว่าบิดามารดา เหมือนกับคำไทยว่า “ลูกเทวดามาอาศัยท้องเกิด” ซึ่งบุตรวัดความเป็นอภิชาตบุตร คือ “ศิศ” นั่นเอง การที่จะลูกจะเป็นอภิชาตบุตรได้อย่างสมบูรณ์แบบที่สุดนั้น สำหรับในพระพุทธศาสนา ไม่มีสิ่งใดประเสริฐสูงไปกว่าการบวช เพราะการบวชนี้เป็นการยกฐานะของผู้บวชขึ้นทั้งนั้นโดยศีลและโดยคุณธรรมทุกประการ ในมูลนิธิปัญหาท่านกล่าวว่า แม้คุ้หลัสจะได้บรรลุวิเศษเป็นพระโสดาบัน ก็ครองที่จะแทบให้บวชพระภิกษุ สามเณรผู้เมี่ยงมีเลสอยู่ ด้วยเหตุว่าภิกษานั้นเป็นผู้สมถะนิยธรรม คือ ธรรมสำหรับสมณะประพฤติ ๒๐ ประการ คือ ๑. เสละมะสฺสะโย มีมิคือปณิธานอร่อย ๒. อัคคีโย มีความนิยมในจิตติติ ๓. จตฺโม มีความประพฤติในดาม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More