ข้อความต้นฉบับในหน้า
ในระยะหลัง ๆ มา นี้ บวชตอนเข้าแล้วก็รู้สึกอตเย็นเลย เมื่อระยะเวลาบวชสั้นลง บวชแล้วก็ไม่ได้ศึกษา อรรถะ ความศักดิ์กษำที่จะบวชต่อไป นาน ๆ จึงไม่เกิดขึ้น ผลที่ตามมาก็คือ พระรุ่นเก่าก็ทยอยออกโลกไป พระรุ่นใหม่ก็ไม่มีเพิ่มขึ้น ผู้บวชใหม่ก็กดจำนวนลง ปัญหาวร้างในประเทศไทยก็เพิ่มขึ้นทุกปี ๆ และมีท่าจะเพิ่มสูงขึ้น ถ้ายังไม่สามารถแก้ไขคำยาการบวชระยะสั้นเพียง ๑ วัน ๗ วัน แล้วก็สึก ได้อย่างเป็นรูปธรรม ถ้าปล่อยไว้แบบนี้ การบวชก็จะเป็นเพียงประเพณี จะไม่มีผู้บวชในระยะยาว ปัญหาวร้างก็จะแก้ความรุนแรงจะแก้ไม่ได้
ทางแก้จะต้องทำอย่างไร?
ทางแก้คือ ต้องหาทางลักหนีบวชม ๓ วัน ๗ วัน แล้วก็สึก เปลี่ยนมาเป็นบวช ๓ เดือน ๗ เดือน เหมือนอย่างที่ประเพณีเราารทำกันมา ทำอย่างไรถึงจะมีคนบวช ๓ เดือน ๗ เดือน เพิ่มขึ้น? สิ่งที่ตอบพระธรรมกายช่วยกันทำก็คือ
๑) ออกไปเชิญชวนคนบวชให้เพิ่มจำนวนมากขึ้น เราจึงได้ทำโครงการบวช ๑ แสนรูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทยขึ้นมา
๒) เมื่อมีผู็สำรองบวครวมทุกศูนย์สาขาทั่วประเทศแล้ว ก็พยายามเชิญให้บวชตัดสินใจบวชให้ครบ ๑ พระรษา เป็นเวลา ๓ เดือน เพื่อจะได้เวลาอาศัยธรรมะ มีเวลาขัดเกลากิเลสตัวเองมากขึ้น
๓) เมื่อบวชครูพระแล้ว ก็เชิญให้บวชอยู่ต่อ แต่แล้วก็พบกับปัญหาที่น่าใจหาย แม้จะพยายามบวชจนได้ยอดผู้สมัครครบเป็นหลักหมื่นเท่านั้นแล้วก็ตาม แต่เมื่อออกพระแล้วก็ปฏิรูปวัดในแต่ละสาขาเหลือจำนวนน้อยผู้บวชอยู่ต่อน้อยมาก บางศูนย์อับรบก็ไม่มีผู้บวชอยู่ต่อเลย
ทำอย่างไรหลังออกบวชจะมีผู้บวชอยู่ต่อเพิ่มขึ้น?
ตั้งแต่โบราณมาแล้ว กุศโลบายที่จะทำให้พระบวชใหม่บวชอยู่ต่อหลังออกบวรก็คือ การเดินธง เพราะเหตุนี้โครงการดูดคามัชชีจึงต้องเกิดขึ้นมา หลังจากมีโครงการดูดคามัชชีเกิดขึ้นมาแล้ว ก็ผู้บวชอยู่ต่อหลังออกพระเพิ่มมากขึ้น เพื่อจะสมัครเข้าร่วมโครงการเดินธงคง เมื่อสมัครเข้ามาแล้ว ก็อดมาฝึกอบรมเตรียมดูดคงให้ผ่านเกณฑ์อีก ๒ เดือน ผู้ผ่านเกณฑ์ก็จะได้ไปเดินธงดูดคง ผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ก็จะบวชอยู่ต่อที่ศูนย์สาขา เพื่อจะกลับมาสมัครใหม่ในปีหน้าอีก ส่วนสาเหตุที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ไม่ใช่เพราะทำความผิด แต่เป็นเพราะว่า ๑) บางรูปความสำรวมยังไม่พอ ๒) บางรูปสุขภาพพังไม่พร้อม ๓) บางรูปยังฝึกสมาธิหย่อนใจลง
ในนี้ กว่าจะได้พระภิกษุแต่ละรูปมาเดินธงคงจำเป็นนั้น ก็ต้องฝึกแล้วฝึกอีก คัดแล้วคัดอีกเป็นเวลา ๒ เดือน จึงได้พระภิกษุที่ผ่านมาเป็นจำนวน ๑,๐๐๐ รูป