ข้อความต้นฉบับในหน้า
ดงคิววทัง ๑๓ วิธีนี้ พระสัมมาัมพุทธเจ้าไม่ได้ทรงบัญญัติเป็นพระวินัย แต่ทรงมีพระบาลพุทธานุญาตให้ทำได้มาทั้งสิ้น ตั้งแต่สมเด็จพระบรมศาสดาทรงเป็นพระอรหันต์โดยถือเป็นความสมัครใจของพระภิษุเอก ดูดวงคิววทังโดยเลือกธีปฏิบัติเป็นวัตรเพียง ๑ ข้อ ๒ ข้อ ก็ได้ หรือจะเลือกข้อก็ได้ แล้วแต่ความสมัครใจ
สำหรับผู้ที่สนใจรายละเอียดของดงคิววทัง ๑๓ วิธีนี้ สามารถศึกษาค้นคว้าได้จาก “คัมภีร์วิสุทธิมรรฺ” ซึ่งเป็นตำราเก่าแก่ของพุทธบรรดา มีบันทึกรายละเอียดของดงคิววทังแต่ละข้อไว้ อย่างดีเยี่ยม สำหรับพระภิษุที่เข้าร่วมโครงการเดินดงคิววทังที้ ๑๓ รูป นี้ ได้ตั้งใจองค์ดงคิววทัง ๒ ข้อ คือ ถือการฉันในอาสนะเดียวเป็นวัตร และ ถือการอยู่ในเสนาสนะที่เจ้าดูให้เป็นวัตร
ดงคิววทังชัย คืนชีพระแสพระดงคิววทังกลับมาใหม่
การทำงานทุกงานในโลกลี้ ก็เป็นธรรมดาที่จะมีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย คนที่เห็นด้วยก็ชื่นชมอนุโมทนา คนไม่เห็นด้วยก็โทษนินทาเดียน โครงการของเราก็อาจจะเสียงเรื่องนี้ได้เช่นกัน อันที่จริงแล้ว ก่อนที่เราจะจัดโครงการดงคิววทังครั้งแรก (พุทธศักราช ๒๕๕๕) นั้น ต้องบอกว่า ในช่วงเวลาก่อนหน้านั้นเป็นสิบ ๆ ปี ไม่มีใครพูดถึงการเดินดงคิววทังเลย ราวกับดงคิววทังไม่เคยมีมาก่อนในโลก จนกระทั่งแม้แต่ชาวพุทธที่ทันเห็นบวนพระดงคิววทังในสมัยก่อนบางท่านยังเข้าใจผิดว่า การเดินดงคิววทังได้ตายจากประเทศไทยไปหมดแล้ว แต่หลังจากที่เราจัดโครงการดงคิววทังขึ้นมา ความสนใจเรื่องประวัติศาสตร์การเดินดงคิววทังในมุมมองต่าง ๆ ก็ถูกเผยออกมาเป็นจำนวนมาก ทำให้เองค์ก็พลอยตื่นตาตื่นใจในกระแสเสียงวิพากษ์วิจารณ์ทั้งในเบื้องและแง่มุมต่าง ๆ มากขึ้น สำหรับกระแสวิจารณ์ที่เกิดขึ้นนี้ ต้องถือว่าเป็นเรื่องดี มีวินัยแล้ว เรื่องการเดินดงคิวในเมืองไทย ก็จะถูกลิมไปจนหมด ไม่มีการพลิกตัวรับดำร้าบการกลับมาใหม่ ไม่มีการให้ความรู้แก้ประชาชนอย่างกว้างขวางเหมือนในขณะนี้ ดังนั้น หากจะว่าไปแล้ว โครงการดงคิววทังที่จัดขึ้นนี้ ก็มีส่วนอย่างมากที่ช่วยปลูกกระแสความสนใจเรื่องการปฏิบัติกาล่ำเลสอย่างเข้มข้น หรือการเดินดงคิวให้ฟื้นคืนชีพกลับมาใหม่ในประเทศไทยอีกครั้งอย่างกว้างขวาง จนเป็นที่กล่าวขานว่านักสังคมเลยทีเดียว
กลุ่มคนที่หวังใจพระพุทธศาสนา
สำหรับในกรณีที่เราต้องตอบคำถามจากการถูกวิจารณ์ในเชิงลบนี้ เราต้องทำใจให้หนักแน่นในธรรม อย่าใช้อารมณ์เป็นใหญ่ ทั้งนี้เพราะผู้ที่วิพากษ์วิจารณ์ เราต้องถือว่าเป็นผู้หวังดีในพระพุทธศาสนาเป็นเดียงกัน ซึ่งอาจแบ่งได้สามกลุ่มใหญ่ คือ
กลุ่มที่ ๑ คนไม่เข้าใจ
กลุ่มที่ ๒ คนเข้าใจผิด
กลุ่มที่ ๓ คนจับผิด
กลุ่มแรก เขาถามด้วยความไม่เข้าใจ เราก็อธิบายด้วยหลักวิชาให้เข้าใจ