พระพุทธศาสนามหายาน: ความหลากหลายของคำสอน พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (1) หน้า 3
หน้าที่ 3 / 38

สรุปเนื้อหา

พระพุทธศาสนาในยุคของพระศากยมุนีมุ่งเน้นการฝึกฝนตนเองเพื่อหลุดพ้นจากการหมุนเวียนในวัฏ แต่พระพุทธศาสนามหายานเสนอว่าความหลุดพ้นนั้นได้รับจากอานุภาพภายนอก เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ก่อนการเกิดพระพุทธศาสนามหายานชี้ให้เห็นว่า ความหลากหลายของคำสอนทำให้มีทางเลือกในการปฏิบัติ และช่วยเปิดโอกาสให้แนวคิดใหม่ ๆ เกิดขึ้น ผลักดันให้เกิดการพัฒนาในวงการพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธศาสนามหายาน
-คำสอนของพระศากยมุนี
-ความหลากหลายในศาสนา
-ประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนา
-แนวคิดการหลุดพ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมบทธ 162 วาสนาวิชาชีพทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563 พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้า จึงมีความหลากหลาย* ชาญาภิชิษฎะ พระมหาพงศ์ศักดิ์ ฐานิโย (แปล) บทคัดย่อ พระพุทธศาสนาในยุคของพระศากยมุนีพบพระเจ้ามีแนวคิดในเรื่องการประกอบกรรมเพื่อหลุดพันจากส่งสารวัฏที่ว่า “การจะจัดเลสเพื่อบรรลุธรรมนั้น ต้องอาศัยการฝึกฝนอบรมตนเอง” ในขณะพระพุทธ-ศาสนามหายาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในพระพุทธศาสนามหายานยกตนมีแนวคิดว่า “สิ่งที่จะช่วยตนให้บรรลุความดีเพื่อหลุดพันได้นั้น ไม่ได้มาจากกำลังความสามารถของตนเอง แต่มาจากอานุภาพภายนอก” แต่เหตุใดพระพุทธศาสนามหายานที่มีแนวคิดแตกต่างกับคำสอนของพระศากยมุนี จึงสามารถเกิดขึ้นได้ เราจึงต้องย้อนกลับไปดูเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ ในยุคก่อนการกำเนิดขึ้นของพระพุทธศาสนามหายาน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่บอกว่าทำไมคำสอนนี้จึงถือกำเนิดขึ้น เป็นปัจจัยสำคัญที่เปิดโอกาสให้พระพุทธศาสนามหายในอดีตนี้คือ “ความหลากหลาย” ของพระพุทธศาสนาในยุคพระเจ้าสุโขทิเป็นการเปิดโอกาสให้มีทางเลือกมากขึ้น จากคำสอนเพียงหนึ่งเดียวไปสู่คำสอนที่หลากหลาย โดยไม่ได้ปฏิเสธกันและกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More