พุทธประวัติและการกำเนิดพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (1) หน้า 25
หน้าที่ 25 / 38

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงความแตกต่างระหว่างพระพุทธศาสนามหายานกับพระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี และกระบวนการการกำเนิดขึ้นของพระพุทธศาสนา โดยนำเสนอบทบาทของพระศากยมุนีซึ่งเป็นศาสดาผู้ให้กำเนิดพระพุทธศาสนา พระนามแท้ของท่านคือ โคตมสักขา ซึ่งประสูติในแคว้นที่ปัจจุบันคือเนปาล ส่วนพระพุทธศาสนามหายานนั้นมีความแตกต่างอย่างมากจากคำสอนของพระศากยมุนี โดยมีวิธีการที่จะนำไปสู่การหลุดพ้นที่แตกต่างกัน แต่ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของพระพุทธศาสนาได้ การศึกษาประวัติศาสตร์และการกำเนิดนี้เป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้สนใจในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

- ประวัติพระศากยมุนี
- ความแตกต่างของพระพุทธศาสนามหายาน
- การกำเนิดพระพุทธศาสนา
- ศาสนาพุทธและคำสอน
- ผลกระทบทางศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมนิยม วาสนาวิชาชีพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563 พุทธประวัติของพระศากยมุนี และกระบวนการกำเนิดขึ้นของพระพุทธศาสนา นักศึกษา: มาถึงตรงนี้ พอจะเข้าใจได้ว่า “พระพุทธศาสนามหายาน” มีความแตกต่างกับ “พระพุทธศาสนาของพระศากยมุนี” แต่ทำไม “พระพุทธศาสนามหายาน” ถึงมีความแตกต่างอย่างมากกับ คำสอนของพระศากยมุนี จึงสามารถกำเนิดขึ้นได้ นี่เป็นเรื่องที่น่าสงสัยจริงๆ อาจารย์: ใช่ครับ ถ้าลำพังเป็นเพียงความแตกต่างกันเล็กๆ น้อยๆ ในเรื่องการอธิบายคำสอน ก็จะไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร แต่ถึงขั้นแตกต่างกันสิ้นเชิงในเรื่องวิธีการที่ทำให้ลุดพ้น แล้วยังสามารถทำให้ คงอยู่ในฐานะของ “พระพุทธศาสนา” เหมือนกันได้ นั่นเป็นเรื่องที่น่าแปลกใจจริงๆ ต่อจากนี้ไป เราจะได้พูดถึง “สาเหตุที่ทำให้พระพุทธศาสนา มหายานถือกำเนิดขึ้น” แต่ก่อนหน้านั้น เราจะมาลองทบทวนถึง “พุทธประวัติของพระศากยมุนี” และ “กระบวนการกำเนิดขึ้นของพระพุทธศาสนา” กันโดยส่งเขบลก่อน ซึ่งถ้าเป็นผู้ที่มีความสนใจในพระพุทธศาสนา ก็จะทราบเป็นอย่างดีอยู่แล้ว แต่ในเรื่องนี้มีความสัมพันธ์อย่างถึงกับการกำเนิดของ “พระพุทธศาสนามหายาน” ดังนั้นขอให้คิดเสียว่าเป็นการทบทวนครับ ศาสดาผู้ให้กำเนิดพระพุทธศาสนา คือ พระศากยมุนี่ สิ่งนี้เราทราบกันเป็นอย่างดีแล้ว พระนามที่แท้จริงของพระศากยมินี คือ “โคตมสักขา” ประสูติมาในรฐนะแห่งเจ้าชายแควกงค์42 บริเวณ 42 積遅族 (shakazoku) เป็นชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณตอนใต้ของประเทศเนปาล ซึ่งอยู่ใกล้กับเขตชายแดนของอินเดียในปัจจุบัน มีกฎกิริยพันธุ์เป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More