พระพุทธศาสนามหายาน: ความหลากหลายในการสอนของพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (1) หน้า 18
หน้าที่ 18 / 38

สรุปเนื้อหา

พระพุทธศาสนามหายานประกอบไปด้วยคำสอนที่มีความหลากหลายเนื่องจากการแปลและการปรับใช้ในสังคมที่แตกต่างกัน ความสำคัญของการเจริญสมาธิและการเข้าถึงนิพพานเป็นเป้าหมายหลัก การศึกษาคำสอนเหล่านี้ทำให้เกิดความเข้าใจในสัจธรรมและควรมีกระบวนการในการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เกิดความสุขที่แท้จริง การมีหมู่สูงหรือสงฆ์มีบทบาทสำคัญในพระพุทธศาสนาในการส่งต่อคำสอนและช่วยในการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดการบรรลุถึงนิพพานอย่างแท้จริง ซึ่งส่งผลให้ผู้ปฏิบัติสามารถขจัดกิเลสและพบกับความสงบในจิตใจ

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธศาสนามหายาน
-ความหลากหลายของคำสอน
-นิพพานและความสุข
-การปฏิบัติธรรมในชีวิต
-บทบาทของหมู่สงฆ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระพุทธศาสนามหายาน เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้ามีความหลากหลาย Mahayana Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha's Teachings โดยมุ่งเน้นการเจริญสมาธิภาวนา25 ตั้งแต่ชาติจนเย็น และในหมู่สงฆ์นั้น ได้ดั่งวรรณจากการประกอบอาชีพต่างๆ แม้การเพาะปลูกก็สามารถ ทำได้ ดังนั้น ปัจจัยที่จำเป็นในการดำรงชีวิตนั้น จึงเป็นปัจจัยที่ได้รับ จากผู้นำในสังคมทั่วไป นักศึกษา : เมื่อได้ฟังว่าผู้ที่อุบ Base ไม่มีความจำเป็นต้องประกอบ อาชีพแล้ว รู้สึกว่าเป็นอะไรที่น่าฉงนเหมือนกัน แต่การละวิธีชีวิต ความเป็นอยู่ที่แม่งทั้งหมด ก็เป็นสิ่งที่ค่อนข้างยากเหมือนกัน นะครับ นั่นแสดงว่ารู้อยู่เบื้องหน้าของการปฏิบัติธรรม อย่างเคร่งครัดที่เรียกว่า “ความสุขงบที่แท้จริง” เป็นสิ่งที่ยอดเยี่ยม ขนาดนั้นเลยหรือครับ? อาจารย์ : “ความสุขงบที่แท้จริง” ที่พระสกายมุนีตรัสถึงนี้หมายเอา การบรรลุธรรมนั้นถึง “นิพพาน”26 ซึ่งหมายถึง การขจัดเสือกิเลส ทั้งปวงที่อยู่ในใจของตนเอง และในขณะเดียวกันก็มีผลทำให้ไม่ต้อง ภาษาสันสกฤต (ผู้แปล: คือคำว่า สูงสุด) ที่หมายถึง “หมู่ชน” หรือ “สมาคม” ซึ่งใช้ อักษรจีน (คันจิ) ว่า 僧伽(sôga) เป็นคำเดี๋ยวเสียง (ถัง ansha) หรือในบางครั้ง ก็ใช้เพียงอักษรเดียว คือ 僧 (sô) ในปัจจุบันก็ใช้ว่า 僧 (sô) นี้โดยหมายเอา พระหรือ นักบวชเพียงรูปเดียว แต่ในความหมายดั้งเดิมนั้น เป็นคำที่ หมายเอา “หมู่สูง” (ผู้แปล : คำย่อกับการใช้คำว่า “พระสงฆ์” ในประเทศไทย ซึ่งมักหมายเอาพระภิกษุเพียงรูปเดียว แต่ในความหมายดั้งเดิมนั้น หมายถึง “หมู่สูง” นั่นเอง) 25 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 眼想 (meisô) 26 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 真の安楽 (ma no anraku) 27 般楽 (nehan) เป็นคำเลียนเสียงของภาษาอินเดียเดียโบราณ ซึ่งภาษาสันสกฤตใช้คำว่า นิรวาณ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More