ข้อความต้นฉบับในหน้า
พรพุทธศาสนามายาน เหตุไซคำของพระพุทธเจ้ามีความหลากหลาย
Mahayāna Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha's Teachings
ทางตอนเหนือของอินเดีย (ปัจจุบัน คือ ประเทศเนปาล) เมื่อราว 2500 ปีที่ผ่านมา เมื่อทรงพระเยาว์ ทรงมีชีวิตที่สุขสบาย เมื่อทรงเจริญวัยขึ้น ได้ทรงทราบถึงความทุกข์ของการแก่ การเจ็บ การตาย ดังนั้นเมื่อพระชนมายุได้ 29 พรรษา จึงทรงมุ่งแสวงหาวิธีการดำเนินชีวิตใหม่ด้วยการออกบวช
ในช่วงแรก ทรงบำเพ็ญทุกขกิริยา มีโรคอดอาหารเป็นต้น เพราะทรงมีคำว่า การทรมานร่างกายอย่างต่อเนื่อง เป็นเหตุให้ความทุกข์ในใจหมดสิ้นไป แต่แล้วในที่สุดทรงรบว่าการบำเพ็ญทุกกิริยานั้น ไม่สามารถทำให้ความทุกข์ในใจหมดไปได้ จึงทรงหันไปนำเพ็ญเพียทางจิต และได้รับรัษฎ์รัฐธรรม เมื่อพระชนมายุได้ 35 พรรษา จากการเจริญมีกิจนิวาสนาได้ตนพระศรีมหาโพธิ์ 43 ภายหลังจากนั้น พระองค์ได้เสด็จจากไปยังสถานที่ต่างๆ พร้อมกับพระสาวก และได้ทรงเทศนาสั่งสอนแก่มหาชนทั้งหลาย ตราบจนพระองค์สิ้นพูน เมื่อพระชนมายุได้ 80 พรรษา ซึ่ง "คำสอน" ที่พระองค์ทรงเทศนาในเวลานั้น เป็นพื้นฐานสำคัญของพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
นักศึกษาฯ : ตอนแรกผมมีมากว่า พระศายมุ่งจะทรงบำเพ็ญเพียรโดยให้น้ำตกที่เย็นเฉียบตกใส ไม่ดื่มไม่กินเป็นเวลาหลายวัน เดินอยู่บนภูเขา จนกระทั่งในที่สุดสามารถตรัสรู้เหมือนกับผู้บำเพ็ญเพียรของชูุกโด 44 เป็นครั้งแรกที่ได้ว่าสามารถปลดอิสระการบำเพ็ญทุกกิริยา
เมืองหลวง แต่ในช่วงพุทธปรินิพพานของพระศากยมุนี ได้เสด็จให้บันลากโรค
43. 攀提樹 (bodaiju) พระศากยมุนีทรงตรัสรู้ใต้ต้นอัครสูตร ที่เป็นรูมฝังแม่น้ำเนรัญซซา พุทธคยา (ปัจจุบันคือ รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย) ด้วยเหตุนี้ ต้นไม้ต้นนี้จึงได้รับการขนานนามว่า "ต้นโพธิ์" (菩提 bodai) เป็นคำเลียนเสียงของคำว่า "โพธิ" (บรรลุธรรม) ในภาษาสันสกฤต
44. ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 修験道 (shugendō) เป็นนิกายนึงใน