ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมนาธา
วาสนาอิชิชชาธรรมพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563
น่าจะเป็นนิยายโจโดะชุนư ไม่สิครับ น่าจะเป็นนิยายโจโดะซู มากกว่า
หรือเปล่า? จะว่าไปแล้วก็โน่ยายครับ ทั้งๆ ที่มีความสนใจใน
พระพุทธศาสนา แต่นิยายที่บ้านตนเองบื้องนั้นก็คือกลับไม่รู้
อาจารย์ : มีรุ่นจำนวนไม่น้อยที่บ้านของตนเองเป็นศาสนิกชน
ของวัดใดวัดหนึ่งตั้งแต่ครั้งบรรจบพบว่ากลับไม่ทราบว่าบ้านของตนเองนั้น
นับถือนิยายใด ถึงกระนั้น ก็มีความสนใจในพระพุทธศาสนาอยู่บ้าง
อย่างน้อยก็เคยได้ยินคำว่า "พระพุทธศาสนามายาน" อยู่บ้างใช่ไหม?
นักศึกษา : ครับ พวกเรามาว่า พระพุทธศาสนานี้อยู่ 2 ประเภท
ได้แก่ “พระพุทธศาสนินยมยาน” และ “พระพุทธศาสนามายาน”
ส่วนพระพุทธศาสนาที่สืบทอดมาถึงญี่ปุ่นคือ "พระพุทธศาสนามายาน"
สำหรับ "พระพุทธศาสนานิยมยาน" หมายถึง "ยานลำเลิกที่ช่วยเหลือผูคน
ได้จำกัด” ส่วน “พระพุทธศาสนามายาน” หมายถึง “ยานลำใหญ่ที่
ช่วยเหลือผูคนทั้งมวล” ใช่ไหมครับ?
________________________________________________________
แปลว่า นมัสการพระอิมาวะพระโพธิสุเจ้า
12 浄土真宗(jōdoshinshu) เป็นนิยายหนึ่งที่มีแนวคำสอนเรื่องสุขาวดี
โดยมีท่านชินรัน (親鸞 shinran : 1173-1262) เป็นผู้ก่อตั้งในสมัยคามาคุระ
(鎌倉 kamakura) ตอนต้น
13 浄土宗 (jōdoshū) เป็นนิยายหนึ่งที่มีแนวคำสอนเรื่องสุขาวดี โดยมี
ท่านโยเน็น (法然 hōnen : 1133-1212) เป็นผู้ก่อตั้งในสมัยเอ็อน
(平安 heian) ตอนปลายถึงสมัยคามาคุระ (鎌倉 kamakura) ตอนต้น
14 ผูแปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 小乗仏教 (shōjō bukkyō) ซึ่งคำว่า 小乗
(shōjō) แปลว่า ยานลำเล็ก
15 ผูแปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 大乘仏教 (daijō bukkyō) ซึ่งคำว่า 大乘
(daijō) แปลว่า ยานลำใหญ่