ธรรมาภิบาลในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (1) หน้า 31
หน้าที่ 31 / 38

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เล่าถึงบทบาทของพระเจ้าโคศในการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและการคุ้มครองศาสนาอื่น ๆ ข้อมูลประวัติศาสตร์จากจารึกพระเจ้าโคศสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการบังคับใช้ศาสนและธรรมาภิบาลในสังคมยุคนั้น.

หัวข้อประเด็น

-พระเจ้าโคศ
-ธรรมาภิบาล
-ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
-การแพร่ขยายพระพุทธศาสนา
-จารึกพระเจ้าโคศ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมาภิบาล วาทะวิธีทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563 องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เมี่ยะ ผู้นำรวมเเน็ตทรูอันเดียวให้เป็นปีฎิแก่พระพุทธศาสนา ผมคิดว่าสาเหตุนี้น่าจะเป็นสาเหตุประกายแรก ที่ทำให้พระพุทธศาสนาแพร่ขยายไปยังอินเดีย นักศึกษา: อาจารย์หมายถึง พระเจ้าโคศทรงบัญญัติให้พระพุทธ-ศาสนาเป็นศาสนาหลักของประเทศ และทรงบังคับให้ประชาชนทั้งหลายว่า "งั้นก็ถือพุทธศาสนา" อย่างนั้นหรือครับ? อาจารย์: ถ้าเป็นอย่างนั้นจริง ๆ ก็พอจะเข้าใจได้ แต่ความเป็นจริงแล้ว พระเจ้าโคศไม่ไดทรงบัญญัติให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาหลักของประเทศ หรือทรงบังคับให้ประชาชนทั้งถือพระพุทธศาสนาแต่โดยได้มีการค้นพบ "จาริกพระเจ้าโคศ" ซึ่งได้บันทึกพระราชะแสลงของพระองค์องค์ลงบนศิลาจารึกโดยมีใจความตอนหนึ่งที่แสดงถึงความที่พระองค์ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่ว่า “พระองค์ทรงเป็นอุบาสก” (คฤหัสถ์ผู้มุ่งครรภา) ในพระพุทธศาสนา แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อความที่แสดงว่า “พระองค์ทรงให้การคุ้มครองศาสนิกชนของทุก ๆ ศาสนา” ศรีลังกาอีกด้วย 50 อัญชะó王碑文 (ashōkaō hibun) พระเจ้าโคศทรงนั่ง “ธรรมะ” มาเป็นหลักในการบริหารบำรงบ้านเมือง และเพื่อให้ประชาชนได้รับทราบถึงความน่า จึงได้ทรงให้นิทพระราชกระแสของพระองค์ลงบนศิลาจารึก ซึ่งมีลงเหลือมาถึงปัจจุบันกว่า 40 พระราชะและ “จาริกพระเจ้าโคศ” นี้ได้บันทึกเรื่องราวในยุคนั้นไว้โดยละเอียด จึงนับเป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ชั้นเยี่ยมในการอธิบายประวัติศาสตร์อันเดิมโบราณและประวัติศาสตร์พระพุทธ-ศาสนา 51 ผู้แปล: ภาษาอังกฤษใช้คำว่า "ubasoku" ซึ่งเป็นคำเลียนเสียงของคำว่า "อุปาสก" ในภาษาบาลีและสันสกฤต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More