การสอนเด็กและหลักธรรมในชีวิต Case Study กฎแห่งกรรม เล่มที่ 7 หน้า 32
หน้าที่ 32 / 136

สรุปเนื้อหา

ในชีวิตของเตี่ย ได้เผยแพร่คำสอนที่สำคัญแก่เด็กๆ ว่าควรทำความดีและไม่ควรขโมย โดยใช้ความกลัวและจำเป็นในการเอาเงินไปทำการทำบุญ เสริมด้วยประสบการณ์ที่สอนให้เห็นค่าของความซื่อสัตย์และผลกระทบของการขโมยต่ออนาคต และต้องทำงานหนัก เทียบกับการทำบุญที่ไม่มากนักเปรียบเทียบกับเมื่อ 50 ปีที่ผ่านมา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อการกระทำในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การอบรมเด็ก
-ความรับผิดชอบ
-ผลกระทบจากการขโมย
-ประสบการณ์ชีวิตเตี่ย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เป็นลูกจ้าง ท่านจะสอนวิธีเข้าหาเถ้าแก่ และชอบสอน เด็กๆไม่ให้ขโมยไม่ว่าจะเป็นเด็กในบ้านหรือเด็กนอก บ้านก็ตามว่า “เด็กๆซนได้ แต่อย่าขโมย” หรือ “ห้าม หยิบของของคนอื่นนะ อย่าหยิบนะ เพราะเขาจะลอง ใจเราดู ถ้าเขาจับได้ เราจะเสียอนาคตนะ” เด็กๆ เชื่อฟังเตี้ยดี แค่เห็นเตี้ยก็กลัวแล้ว ยิ่งท่านมองมา ท่าทางขรึมดุ เดินไปถือไม้เรียว เด็กๆ จะนั่งเงียบ กันหมด ถ้าวิ่งเล่นกันอยู่ เห็นท่านถือไม้เรียวเดินมา เด็กๆ จะวิ่งหนีร้องว่า “อาแปะมาแล้ว ไม่เอาแล้ว!” ดูจากชีวิตของเตี่ยในปัจจุบัน เราดูรู้ว่าท่านทำทาน ในอดีตชาติมาน้อยอย่างที่คุณครูไม่ใหญ่พูดจริงๆครับ ชาตินี้ ท่านบริจาคเงินให้ศาลเจ้าครั้งละ 10-20 บาท เมื่อ 50 ปีที่แล้ว เงินจำนวนนี้มีค่าเท่ากับ ท่านจะให้ ทานคนที่ลำบากยากจนบ้างแต่ไม่มากนัก ทำบุญกับพระ สงฆ์ก็มีที่สำนักสงฆ์บางมด กับหลวงตาวัดหัวลำโพงที่มา เดินบิณฑบาตแถวสี่พระยาเท่านั้น 100 บาท , ตอนเด็กๆ ผมก็อยากออกไปวิ่งเล่นเหมือนคนอื่นๆ แต่ต้องช่วยเตี้ยทำอาหาร สับกระเทียมเป็นหม้อๆทำน้ำ จิ้มเพราะกับข้าวของคนจีนทุกอย่างใส่กระเทียม พอท่านเรียกไปสอน ก็ไม่เอา รู้สึกเหนื่อยเหลือเกิน แต่ กฎแห่งกรรม 31
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More