การเตือนภัยน้ำท่วมในชุมชน Case Study กฎแห่งกรรม เล่มที่ 7 หน้า 112
หน้าที่ 112 / 136

สรุปเนื้อหา

ในช่วงที่มีการเตือนว่าจะมีฝนตกหนัก องค์การบริหารส่วนตำบลและผู้ใหญ่บ้านจำเป็นต้องให้ข้อมูลและเตือนประชาชนอย่างจริงจัง เนื้อหาชี้ให้เห็นถึงความไม่เพียงพอของการขประกาศเตือนภัยที่ทำให้ประชาชนไม่ได้เตรียมตัว ข้อความยังกล่าวถึงประสบการณ์ของแม่ขันคำที่ยังคงขายของแม้ในขณะมีน้ำท่วม และการเตรียมตัวของชาวบ้านเพื่อรับมือกับเหตุการณ์น้ำท่วม

หัวข้อประเด็น

-การเตือนภัยขององค์กร
-การตอบสนองต่อภัยพิบัติ
-ประสบการณ์ชีวิตในชุมชน
-ความสำคัญของการสื่อสาร
-การเตรียมตัวรับมือภัยธรรมชาติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

องค์การบริหารส่วนตำบลทุกแห่ง กำนันและผู้ใหญ่บ้าน 1 สัปดาห์ล่วงหน้าแล้วว่าจะมีฝนตกหนัก ขอให้ เตือนประชาชนให้ระวังอันตราย และวางคนติดตาม สถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพื่อให้ความช่วยเหลือด่วน ในความรู้สึกของชาวบ้าน ไม่มีเสียงประกาศให้ อพยพ ถึงประกาศก็เงียบเบาเกินกว่าที่ชาวบ้านจะได้ยิน ถ้าได้ยิน ชาวบ้านก็จะไม่ดำาเนินชีวิตตามปกติ ช่างทาสี ก็จะไม่ออกจากบ้านไปทำงาน ครูและนักเรียนก็จะไม่ไป โรงเรียน เพื่อนบ้านก็จะไม่ถูบ้านและเตรียมตัวไป ธนาคาร ส่วนแม่ขันคำก็จะไม่ออกไปขายขนม ที่ตลาดสด แม่ขันคำได้ยินคนพูดกันเรื่องน้ำท่วม จึงรีบแจกขนมแล้วกลับไปเก็บข้าวของที่อยู่ใต้ถุนบ้าน และเข็นรถมอเตอร์ไซค์ของลูกๆขึ้นที่สูง เวลา 09.07 นาฬิกาได้โทรศัพท์ไปหาปรีเนตร ลูกสาวในกรุงเทพฯ ว่า “วันนี้ขนมขายไม่ดีเลย” แต่แม่ก็ยังไม่คิดหนีไปไหน ทั้งๆที่น้ำท่วมแล้ว ลูกสาวบอกให้แม่ช่วยไปดูอ้าย คองดวย ขณะนั้น อนัน แสงสี ลูกชายคนโต ทำงานอยู่ใน กรุงเทพฯ คิดเหมือนน้องสาวว่า น้ำคงจะท่วมเล็กน้อย แล้วลดหายไปอย่างทุกปี แต่เมื่อได้ฟังข่าวเตือนภัย กฎแห่งกรรม 111 พ บ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More