ขุนโสตะระ ศึกษากร: ชีวิตและเกียรติยศ Case Study กฎแห่งกรรม เล่มที่ 7 หน้า 55
หน้าที่ 55 / 136

สรุปเนื้อหา

ขุนโสตะระศีกษากร เป็นครูในยุคสมบูรณาญาสิทธิราช รัชกาลที่ 6 ที่มีบทบาทสำคัญในชุมชน โดยมีคลองขุนโสดในจังหวัดราชบุรี ตั้งชื่อตามท่าน เขาเป็นคนที่เป็นที่ชื่นชอบของเด็กๆ และช่วยเหลือชาวบ้านยากจน แม้จะไม่สะสมทรัพย์เพื่อทำบุญ แต่มีความซื่อสัตย์และศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง ขุนโสตะระเป็นบุคคลที่ชาวบ้านนับถือเพราะมีจิตใจเมตตาและอุทิศตนเพื่อการศึกษาอย่างแท้จริง

หัวข้อประเด็น

-ประวัติขุนโสตะระ
-บทบาทของครูในสังคม
-การศึกษายุคสมบูรณาญาสิทธิราช
-เกียรติยศในชุมชน
-การช่วยเหลือชาวบ้าน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ขุนโสตะระศีกษากร คู่ชีวิตของคุณยายอาภรณ์ โสตะระ เป็นท่านขุน คนสุดท้ายแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ยุคสมบูรณาญาสิทธิราช ในรัชกาลที่ 6 ท่านขุนเป็นครูตลอดชีวิตจนกระทั่งอำเภอ ดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ตั้งชื่อคลองสายหนึ่งเป็น เกียรติแก่ท่านว่า “คลองขุนโสด” คนสมัย 90 ปีหรือ 100 ปีที่แล้ว นับถือครู บาอาจารย์ว่าเป็นผู้มีเกียรติ ขุนโสตะระเองก็ดูดีมีสง่า ราศี ผู้ใหญ่จึงแนะนำให้พ่อกับแม่แต่งงานกัน ท่านขุน เป็นคนชอบพูดจาสนุกสนานแหย่เด็กๆ แล้วยัง แจกขนมและให้เงินเด็กๆ กับชาวบ้านที่ยากจนอีกด้วย แต่ไม่ค่อยเอาปัจจัยมาทำบุญถวายพระ บางช่วงถือ อุโบสถศีลทุกวันพระและเคยบวชพระไม่ยิงนกตกปลา CASE STUDY 54
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More