วิเสสนะและอุปมาของบาลีไวยกรณ์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 3
หน้าที่ 3 / 53

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับวิเสสนะในบาลีไวยกรณ์ รวมถึงบทเฉพาะเช่น วิเสสโนภยบทและวิเสสโนปมบท โดยได้อธิบายตัวอย่างที่ชัดเจนและการประยุกต์ใช้ในประโยค นอกจากนี้ยังกล่าวถึงสัมภาวนบุพพบทที่มีความสำคัญในการแสดงความหมายในบริบทต่าง ๆ โดยเฉพาะในเรื่องของพระราชาและสมณะ พร้อมทั้งเสนอรูปแบบการใช้ภาษาที่หลากหลายในการสื่อสารความหมายรอบด้านในบาลี.

หัวข้อประเด็น

-วิเสสนะ
-อุปมา
-สมาส
-ตัทธิต
-บาลีไวยกรณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 109 วิเสสโนภยบท มีบททั้ง ๒ เป็นวิเสสนะ มีบทอื่นเป็นประธาน อย่างนี้ " สีตญฺจ สมฏฐญจ = สีตสมฏฐิ" [ ฐาน ที่ 1 ทั้งเย็นทั้งเกลี้ยง อนุโธ จ วชิโร จ-อนุธวชิโร (ปุริโส บุรุษ ] ทั้งบอดทั้งหนวก ขณฺโช จ ขุชโช จะขญชชโช (ปุริโส บุรุษ ] ทั้งกระจอกทั้ง ค่อม." วิเสสโนปมบท มีบทวิเสสนะเป็นอุปมา จัดเป็น ๒ ตาม วิเสสนะอยู่หน้าและหลัง, สมาสที่มีอุปมาอยู่หน้า เรียก " อุปมา- ปุพฺพปโท." มี อุ, อย่างนี้ " สงข์ อิว ปุณฑร สงฺขปณฺฑร์ [ซีร น้ำนม ] ขาวเพียงดังสังข์, กาโก อิว สูโร-กากซูโร คนกล้า เพียงดังกา, ทิพพ์ อิว จกฺขุ = ทิพพจักขุ จักษุเพียงดังทิพย์ " สมาส ที่มีอุปมาอยู่หลัง เรียก " อุปมานุตตรปโท " มี อุ. อย่างนี้ " นโร สีโห อิว-นรสีโห พระเพียงสีหะ, ญาณ์ จกฺขุ อิว-ญาณจักขุ ญาณเพียงดังจักษุ, ปญฺญา ปาสาโท อิว-ปญฺญาปาสาโท ปัญญา เพียงดังปราสาท." สัมภาวนบุพพบท มีบทหน้าอันท่านประกอบด้วยอิติศัพท์ บท หลังเป็นประธาน ดังนี้ " ขตฺติโย [อห์] อิติ มาโน =ขตฺติยมาโน มานะว่า [เราเป็น] กษัตริย์, สตฺโต อิติ สัญญา = สตฺตสญฺญา ความสำคัญว่าสัตว์, สมโณ [อหิ ] อิติ ปฏิญญา = สมณปฏิญญา ปฏิญญาว่า [ เราเป็น] สมณะ " ๑. ในสัททนิติว่า สิตต์ จ ต สมมฏฐ์ ฐาน ฯ กวาด ฯ คือทั้งรดน้ำทั้งปัด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More