บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 38
หน้าที่ 38 / 53

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้พูดถึงการใช้ปัจจัยในภาษาบาลี โดยเฉพาะในชาตาทิตัทธิต ซึ่งมีปัจจัย 3 ตัว ได้แก่ อิม, อิย และกิย พร้อมกับคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องอย่างเช่น ชน และชื่อที่ปรากฏในบริบทต่าง ๆ ซึ่งช่วยให้เข้าใจถึงความหมายและการใช้งานได้อย่างชัดเจน คุณสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับศัพท์บาลีที่มีความหลากหลายและการจับคู่กับความหมายที่แตกต่างกันได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-หลักการใช้บาลี
-ปัจจัยในบาลี
-คำศัพท์บริบทต่างๆ
-การศึกษาไวยกรณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 141 ในชาตาทิตัทธิต มีปัจจัย ๓ ตัว คือ อิม, อิย, กิย. ศัพท์ที่ลง อิม ปัจจัย อย่างนี้ ปุเร ชาโต ปุริโม [ชน ] เกิดแล้วในก่อน ชื่อปุริมะ (เกิด แล้วในก่อน ]. มชุเณ ชาโต มชฺฌิโม [ชน] เกิดแล้ว ในท่ามกลาง ชื่อ มัชฌิมะ [ เกิดแล้วในท่ามกลาง ] ปุจฉา ชาโต ปจฺฉโม [ชน ] เกิดแล้ว ในภายหลัง ชื่อ ปัจฉิมะ [ เกิดแล้วในภายหลัง ]. ปุตโต อสฺส อตฺถิ-ติ ปุตตโม บุตร ของชนนั้น มีอยู่ เหตุนั้น [ ชนนั้น] ชื่อว่ามีบุตร. อนเต นิยุตโต อนุติโม [ชน] ประกอบในที่สุด ชื่ออันติมะ [ ประกอบในที่สุด ]. ศัพท์ที่ลง อึย ปัจจัย อย่างนี้ มนุสฺสชาติยา ชาโต มนุสฺสชาติโย [ชน] เกิดแล้ว โดยชาติ แห่งมนุษย์ ชื่อ มนุสสชาติยะ [เกิดแล้วโดยชาติแห่งมนุษย์ ] อสฺสชาติยา ชาโต อสฺสชาติโย [ สัตว์ ] เกิดแล้ว โดยชาติ แห่งม้า ชื่อ อสัสชาติยะ [ เกิดแล้วโดยชาติแห่งม้า ] ปณฺฑิตชาติยา ชาโต ปณฺฑิตชาติโย [ชน ] เกิดแล้ว โดย ชาติ แห่งบัณฑิต ชื่อบัณฑิตชาติยะ [ เกิดแล้วโดยชาติแห่งบัณฑิต ] ปณฺฑิตชาติ อสฺส อตฺถิ-ติ วา ปณฺฑิตชาติโย อีกอย่างหนึ่ง ชาติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More