บาลีไวยกรณ์: วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 7
หน้าที่ 7 / 53

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้าที่ 113 ของหนังสือกล่าวถึงหลักไวยกรณ์ภาษาบาลี เช่น อุภัยตัปปุริส และการศึกษาเกี่ยวกับสมาสและกัมมธารยะ โดยมีการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสมาสสองประเภทนี้ พร้อมอธิบายถึงลักษณะของวิภัตติและวจนะที่แตกต่างกัน ผู้ศึกษาได้เรียนรู้การจับคู่คำและการปรับเปลี่ยนในรูปแบบต่างๆ เพื่อเข้าใจความหมายและการใช้ในประโยคขนาดต่างๆ สำหรับผู้ที่สนใจเริ่มเรียนรู้ และปรับปรุงทักษะไวยกรณ์ของตนเอง

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยกรณ์
-วจีวิภาค
-สมาส
-ตัทธิต
-การศึกษาภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 113 [อย สตฺโต สัตว์นี้ ] มิใช่ม้า. น อริโย = อนริโย [อย ชโน ชนนี้ มิใช่พระอริยเจ้า." เป็นต้น เรียกว่า อุภัยตัปปุริสะบ้าง กัมมธารยะมี น เป็นบทหน้าบ้าง, ในสมาสนี้ ถ้าพยัญชนะ อยู่หลัง น. เอา น เป็น อ เหมือน อพฺราหฺมโณ เป็นต้น. ถ้าสระ อยู่หลัง น. เอา น เป็น อน เหมือน อนสุโส เป็นต้น. ตัปปุริสสมาสนี้แปลกกันกับ กัมมธารยะ อย่างนี้ กัมมธารยะ มีวิภัตติและวจนะเสมอกัน บทหนึ่งเป็นประธาน บทหนึ่งเป็นวิเสสนะ หรือเป็นวิเสสนะทั้ง ๒ | ๒ บท. ส่วนตัปปุริสสมาส มีวิภัตติและวจนะ ไม่เสมอกัน ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้แม่นยำ [๔๘] นามนามตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไป ท่านย่อเข้าเป็นบทเดียวกัน ชื่อ ทวันทวสมาส ๆ นี้มี ๒ อย่าง คือ สมาหาโร อสมาหาโร [ เหมือนทิค] สมาหาระ อย่างนี้ " สมโถ จ วิปัสสนา จ 0 ๒ ๔ สมถ- ด้วย วิปัสสนา ด้วย ชื่อสมถะและวิปัสสนา, วิปสฺสน์ สมถะ ๕ ๒ က ๔ ๕ สงฺโข จ ปณ โว จ สงฺขปณ สังข์ ด้วย บัณเฑาะว์ ด้วย ชื่อ ๒ ๓ ๔ ๕ ๒ က ๔ สังข์และบัณเฑาะว์ ปตฺโต จ จีวรญ จ ปตฺตจีวร บาตร ด้วย จีวร ๕ ๑ ๒ ደ ๕ ค
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More