บาลีไวยกรณ์: ตัทธิตและสามัญญูตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 30
หน้าที่ 30 / 53

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้ได้กล่าวถึงตัทธิตในบาลีไวยกรณ์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยเกื้อกูลแก่เนื้อความ โดยเฉพาะในส่วนของสามัญญูตัทธิตที่มีการแบ่งออกเป็น 13 ประเภท ได้แก่ โคตตตาธิต ตรายาทิต ราคาทิต และอื่นๆ ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าใจการใช้ปัจจัยได้มากขึ้น และเป็นแนวทางในการนำไปใช้ในภาษาของตนเองเพื่อให้เข้าใจง่ายและกระชับยิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

-ตัทธิต
-สามัญญูตัทธิต
-การแบ่งประเภทตัทธิต
-การศึกษาไวยกรณ์บาลี
-การใช้ปัจจัยในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 135 ตัทธิต [๑๐๒] ปัจจัยหมู่หนึ่ง เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความย่อ สำหรับใช้แทนศัพท์ ย่อคำพูดลงให้สั้น เรียกง่าย ๆ เหมือนคำว่า " สยาม ชาโต เกิดในสยาม " ลงปัจจัยแทน ชาต เอาไว้แต่ สยา เป็น สยามโก เรียกว่าตัทธิต ๆ นั้น โดยสังเขป แบ่งเป็น ๓ อย่าง คือ สามญฺญตทธิต, ภาวตทธิต, อพฺยยตทธิต [๑๐๓] สามัญญูตัทธิต แบ่งออกไปอีกเป็น ๑๓ อย่าง คือ โคตตตาธิต, ตรายาทิตท, ราคาทิต, ชาคาทิตท, ชาตาทิตท, สมุหตท, ฐานตท, พหุลตท, เสฏฺฐิตา, เทสฺสตฺถิตท, ปกติตา, สังขยาต ปูรณตฑุ, วิภาคตท. ในคัมภีร์ศัพทศาสตร์ทั้งหลาย ท่านแบ่งเป็น ๑๕ เติมอุปมา ตัทธิต และนิสิตตัทธิต. ข้าพเจ้าเห็นว่าไม่ได้ใช้สาธารณะ จึงมิได้ ประสงค์ที่จะกล่าวในที่นี้ แสดงแต่ ๑๓ อย่าง ตามแบบของพระ อมราภิรักขิต (เกิด) วัดบรมนิวาส ในโคตตตัทธิต มีปัจจัย 4 คือ ณ, ณายน, ณาน, เนย, ณ, ณิก, ณว, เณร, ผู้ศึกษาพึงทราบว่า เมื่อลงปัจจัยที่มี ณ ถ้าสระอยู่หน้าศัพท์เป็นรัสสะล้วน ไม่มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง ต้องพฤทธิ์ คือ ทีฆะ อ เป็น อา, วิการ อิ เป็น เอ, อุ เป็น โอ, เว้นไว้แต่สระที่อยู่หน้าศัพท์เป็นรัสสะ มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More