บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต หน้า 23
หน้าที่ 23 / 53

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนออุปมาบุพพบทในบริบทของบาลีไวยกรณ์ ซึ่งมีการกล่าวถึงการแปลและความสำคัญของทิคุสมาส โดยเน้นว่ามีอรรถตามบทหน้าและบทหลังเมื่อเปรียบเทียบกับสมาสอื่น ๆ รวมถึงการอ้างอิงถึงคำภีร์และงานของอาจารย์ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อสร้างความเข้าใจที่สามารถนำไปใช้ได้ในด้านการศึกษาและการวิเคราะห์ในทางธรรมนัติและปรัชญา ประเด็นนี้สำคัญในวจีวิภาคที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการสร้างคำและการวิเคราะห์บทความ. ข้าพเจ้ายังได้อธิบายถึงบทและตัวอย่างที่ใช้ในหนังสือและคัมภีร์ต่าง ๆ ด้วย

หัวข้อประเด็น

-อุปมาบุพพบท
-ทิคุสมาส
-บาลีไวยกรณ์
-การแปลและอรรถ
-วจีวิภาค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต - หน้าที่ 128 อุปมาบุพพบทกัมมธารยะ ไม่มีอุปมานุตตรบท. ในสัททนิติ ยกเอา อุปมาบุพพบท เป็น พหุพพิหิเสีย แสดงแต่ อุปมานุตตรบท ข้าพเจ้า เห็นควรจะมีทั้ง ๒ อย่าง จึงนำมารวมไว้เป็นหมวดเดียวกัน เรียกว่า วิเสส โนปมบท. อีกประการหนึ่ง ในคัมภีร์ทั้งหลายกล่าวว่า ทิคุสมาสมีบทหน้า เป็นประธาน ถ้าเช่นนั้น จะต้องแปลตรงๆ ตามภาษาของเราว่า " ทวิป ๒ บท, จตุททิสา ๔ ทิศ ท " แต่ในฎีกาสัตถสารัตถชาลินี ชักเอาคำของอาจารย์อื่นมาแสดงไว้ว่า " ทิคุสมาส มีอรรถแห่งบท หน้าเป็นประธานอย่างไร. วตถุตตย์ [แปลตามนัยนี้ว่าวัตถุ ๓] ทิคุ มีอรรถแห่งบทหลังเป็นประธานอย่างไร ติโลก โลก ๓ ที่แปลไว้ ข้างต้นนั้น ดูเหมือนเอาบทหลังเป็นประธาน ตามแบบที่เคยเล่าเรียน ถึงอัพยยีภาวสมาส ก็เหมือนกัน ในคำภีร์ทั้งหลายว่า มีอรรถแห่ง บทหน้าเป็นประธาน ในฎีกาสัตถสารัตถชาลินี ที่ชักเอาคำอาจารย์ อื่นมาแสดงไว้นั้นว่า มีทั้ง ๒ อย่างเหมือนทิคุสมาส สมาสที่ใช้มากในหนังสือทั้งปวงอีกอย่างหนึ่ง คือ " สห ปุตเตน โย วตฺตตี ติ สปุตโต ปิตา ชนใด ย่อมเป็นไป 0 ๒ ๔ ๕ ๖ ය ๔ กับ ด้วยบุตร เหตุนั้น [โส ชโน ชนนั้น] ชื่อว่าเป็นไปกับด้วยบุตร 0 ๒ ๕ [ คือ ] บิดา බ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More